Style สาธารณะ
[search 0]
เพิ่มเติม
ดาวน์โหลดแอปเลย!
show episodes
 
Artwork

1
2 จิตตวิเวก

ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana

icon
Unsubscribe
icon
Unsubscribe
รายสัปดาห์
 
รูปแบบการปฏิบัติธรรมทางวิทยุ (Guided Meditation) ฟังไปด้วย, นั่งสมาธิไปด้วย เพื่อทำจิตที่ประภัสสรให้ผ่องใส ด้วยการเจริญสมถวิปัสสนา นำธรรมะเข้าสู่จิตใจให้ชุ่มเย็นอ่อนเหมาะควรแก่การงาน. New Episode ทุกวันอังคาร เวลา 05:00, Podcast นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายการธรรมะรับอรุณ ออกอากาศทุกวันทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (สวท.) มีคำถาม/ข้อเสนอแนะ หรือสมัครติดตามฟังทั้ง 7 รายการ ที่ panya.org Hosted on Acast. See acast.com/privacy for more information.
  continue reading
 
Artwork

1
3 ใต้ร่มโพธิบท

ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana

icon
Unsubscribe
icon
Unsubscribe
รายสัปดาห์
 
เรียนรู้หัวข้อธรรมะ ที่เป็นแผนที่แม่บท เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง ด้วยสูตร 15+45 คือนั่งสมาธิ 15 นาที แล้วตามด้วยการอธิบายหัวข้อธรรมะ 45 นาที เพื่อให้ตกผลึกความคิดเป็นสัมมาทิฏฐิ มีปัญญาเดินทางแผนที่คำสอนได้. New Episode ทุกวันพุธ เวลา 05:00, Podcast นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายการธรรมะรับอรุณ ออกอากาศทุกวันทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (สวท.) มีคำถาม/ข้อเสนอแนะ หรือสมัครติดตามฟังทั้ง 7 รายการ ที่ panya.org Hosted on Acast. See acast.com/privacy for more information.
  continue reading
 
วันพีซ เรด 2022 [พากย์ไทย] ดูหนังออนไลน์ฟรี | one piece film red เข้า ไทย วัน ไหน ดูหนัง ONE PIECE FILM: RED [วันพีซ ฟิล์ม เรด - 2022] ออนไลน์ฟรี ฟรี เต็มเรื่อง พากย์ไทย THAI DUB,ดูหนัง ONE PIECE FILM: RED (ววัวันพีซ ฟิล์ม เรด) 2022 HD พากย์ไทย ซับไทย ดูฟรี ,ผมแดงผู้นำมาซึ่งบทสรุป (2022) เต็ม เรื่อง พากย์ ไทย ,ONE PIECE FILM RED | วันพีซ ฟิล์ม เรด uta คือ เรื่องเต็ม พาก,ดู วัน พีช ฟิล์ม red ซูม หนังออนไลน์,[ดูหนัง-HD!] ...
  continue reading
 
Loading …
show series
 
พระพุทธเจ้าได้ทรงแบ่งภัยในโลกนี้ไว้ 2 อย่างคือ ภัยที่ช่วยเหลือกันได้ และภัยที่ช่วยกันไม่ได้ 1.ภัยที่พอช่วยเหลือกันได้ ได้แก่ 1.ภัยน้ำท่วม 2.ภัยเกิดจากไฟไหม้ 3.ภัยเกิดจากโจรขโมยและสงคราม ภัยเหล่านี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วยังพอช่วยเหลือให้ผ่อนหนักเป็นเบาได้บ้าง มากบ้างน้อยบ้าง ตามสถานการณ์ 2.ภัยที่ช่วยกันไม่ได้ ถึงแม้จะเป็น พ่อ แม่ ลูก ที่รักและห่วงใยกันแค…
  continue reading
 
เจริญธัมมานุสติ นำธรรมมะมาตริตรึกเพื่อให้เกิดปัญญา ฝึกจิตให้เป็นพืชที่เติบโตได้ คือการสร้างศรัทธาอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม, มีสติเป็นปฏัก ควบคุม การลาก แอก, คันไถ คือปัญญา เพื่อให้ผานขุด เจาะลงไปในดิน, โดยมีน้ำรดพืช คือมีความเพียร, พรวนดินซ้ำๆ ย้ำๆ คือ การบริกรรม พืชก็จะงอกงาม, จิตเราก็จะมีการปรับเสมอๆกันระหว่างศรัทธาและปัญญา, ความเพียรและสมาธิ, มีส…
  continue reading
 
การภาวนา คือการเจริญ การพัฒนา การฝึกอบรมให้ดีขึ้น ในตอนนี้จะกล่าวถึงการภาวนา 4 ประการที่หากไม่เจริญไม่ฝึกอบรมให้ดีจะก่อให้เกิด อนาคตภัย 5 ประการ ขึ้นได้ การภาวนาทั้ง 4 ประการนี้คือ 1. กายภาวนา คือการเจริญกาย พัฒนากาย การฝึกอบรมกาย โดยการฝึกสำรวมอินทรีย์ รู้ประมาณในการบริโภค ดูแลร่างกายเพียงเพื่อให้ได้ประพฤติพรหมจรรย์ 2. สีลภาวนา คือการเจริญศีล พัฒน…
  continue reading
 
เจริญอานาปานสติ มรณสติ อยู่อย่างไม่ประมาท อย่างมีปัญญา ด้วยการสร้างเหตุ ที่จะให้ถึงความดับไม่เหลือ แห่งความเกิด ความแก่ ความตาย นั่นคือดำเนินตามมรรคมีองค์ประเสริฐแปดอย่าง ซึ่งเป็นปฏิปทาเพื่อให้เกิดวิชชา, ในช่วงเวลาที่เหลือ, เราจะอยู่ด้วยการ ประพฤติธรรม ประพฤติสม่ำเสมอ สร้างกุศล บำเพ็ญบุญ, เราก็จะพ้นจากความเกิด แก่ เจ็บ ตายได้ นั่นเอง. Hosted on Aca…
  continue reading
 
"กัลยาณมิตร" หมายถึง บุคคลที่ปรารถนาดี นำสิ่งดีงาม และเป็นกุศลมาสู่เรา กัลยาณมิตรมีหลายแบบได้แก่ 1) กัลยาณมิตรที่เป็นองค์ความรู้อันได้แก่ อริยมรรคมีองค์ 8 2) เพื่อนที่ดี คือ ฆราวาสผู้พร้อมด้วยศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา 3) พระสงฆ์ครูบาอาจารย์ 4) พระพุทธเจ้า ในครั้งนี้จะกล่าวรายละเอียดถึงกัลยาณมิตรแบบที่ 3 คือพระสงฆ์ครูอาจารย์ เราจะเลือกเอาพระสงฆ์ครู…
  continue reading
 
เราตริตรึกคิดนึกไปทางไหน สิ่งนั้นจะมีกำลัง เราจึงต้องมีสติอยู่กับพุทโธ มีกัลยาณมิตร กัลยาณธรรมเพื่อให้จิต อยู่กับกุศลธรรมทั้งทางกาย วาจา ใจ อกุศลลดน้อยลง กุศลธรรมเพิ่มขึ้นๆ ก็จะเกิดความเปลี่ยนแปลงได้ในตัวเรา จากคนไม่ดี กลายเป็นคนดี, คนไม่มีปัญญา กลายเป็นคนมีปัญญา, จิตน้อมมาทางธรรม ทางมรรคมีองค์แปด มากขึ้นๆเรื่อย จนถึงที่หมายคือนิพพานได้ จากการที่เร…
  continue reading
 
“โอกาส” หมายถึง สถานที่หรือเวลา เปรียบเทียบในทางธรรมะของพระพุทธเจ้าคือภพ แปลว่าความเป็นสภาวะ การมีสภาวะใดสภาวะหนึ่งสถานที่และเวลาเป็นเรื่องสำคัญ การที่เรามีโอกาสที่เหมาะสมคือ อยู่ถูกที่ถูกเวลาแล้วเราไม่ปล่อยโอกาสให้ล่วงเลยไป ใช้โอกาสนั้นอย่างผู้ชาญฉลาด เราจะประสบความสำเร็จได้ หรือหากสร้างโอกาสให้ตัวเองก็ยิ่งดี ยกตัวอย่างตามนิทานชาดก เรื่องพ่อค้าทาง…
  continue reading
 
เจริญพุทธานุสติ เพื่อระลึกถึงพระพุทธเจ้า ว่าเราโชคดีมาก ที่มีโอกาสได้สามสิ่งนี้ คือ 1.การมีพระพุทธเจ้า อุบัติเกิดขึ้นบนโลก 2.การมีคำสอนของพระพุทธเจ้าและยังคงอยู่ 3.การที่เราได้เกิดมาเป็นมนุษย์และได้พบพระพุทธศาสนา ถือเป็นความสว่างอย่างใหญ่หลวง ที่พระพุทธเจ้าสร้างแนวทางในการปฏิบัติ คือ มรรค ให้เราเดินทางเพื่อพัฒนาตัวเอง ให้เกิดแสงสว่างส่องเข้าไปในตัว…
  continue reading
 
กรรม คือ เจตนาที่มีการปรุงแต่ง (สังขาร) ออกไปทางกาย วาจา ใจ เมื่อมีการปรุงแต่งกระทำออกไปแล้ว ย่อมมีผลหรือมีวิบากของกรรมนั้นอย่างแน่นอน เรื่องของกรรมเป็น “อจินไตย” คือ เป็นสิ่งที่ไม่ควรคิด เพราะถ้าคิดแล้วอาจจะทำให้เป็นบ้าได้ ในที่นี้หมายถึง เป็นสิ่งที่ไม่อาจเข้าใจได้ด้วยตรรกะสามัญของปุถุชน (ตามนัยยะ อจินติตสูตร) ตราบใดที่เมื่อยังมีการปรุงแต่งกรรมอยู…
  continue reading
 
พิจารณากาย เพื่อให้เห็นตามความจริงว่า ตัวเราประกอบด้วยขันธ์ทั้งห้า, รูป 1 คือกายเราเกิดจากธาตุสี่(ดิน น้ำ ลม ไฟ), นาม 4 คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ, โดยมีวิญญาณ(การรับรู้) เป็นตัวเชื่อม รูป-นาม, เกิดสังขาร(ปรุงแต่ง)การรับรู้นั้น, แล้วเกิดเวทนาความพอใจ หรือ ไม่พอใจ, แล้วยึดมั่น ถือมั่น(อุปาทาน)นความเพลิน พอใจ ไม่พอใจนั้น, เกิดตัวตนว่าตนพอใจ ตนไม่พ…
  continue reading
 
“กรรม” (กัมมะ) คือ เจตนาของจิตที่เมื่อมีผัสสะมากระทบแล้วเกิดการปรุงแต่งออกไป ทางกาย (กายกรรม) วาจา (วจีกรรม) และใจ (มโนกรรม) เป็นอกุศลกรรมบ้างหรือกุศลกรรมบ้าง หรือเป็นไปเพื่อความสิ้นกรรม (อริยมรรคมีองค์ 8) กรรมเป็นสิ่งที่บุคคลควรทราบ – ทำความเข้าใจกรรมผ่าน “นิพเพธิกสูตร” เรากล่าวซึ่ง “เจตนา ว่าเป็นกรรม” เพราะว่าบุคคลเจตนาแล้ว ย่อมกระทำซึ่งกรรมด้วยก…
  continue reading
 
การจะทำให้เกิดวิชชาคือความรู้ได้ ต้องเริ่มจากการมีสัมมาทิฏฐิ เพื่อพัฒนาจาก อวิชชาที่เป็นส่วนบาป ให้เป็นอวิชชาที่เป็นส่วนบุญ คือให้ทาน รักษาศีล ฟังธรรม มีสติ นั่นคือเกิดสัมมาทิฏฐิ, สัมมาสังกัปปะ, สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ, สัมมาสติ แล้ว จากนั้นพัฒนาต่อจากอวิชชาที่เป็นส่วนของบุญ ให้เป็นอวิชชาที่เหนือบุญเหนือบาปหรืออาเนญชะ โดยผ่านสัมมาสมาธ…
  continue reading
 
“กรรม” คือ การกระทำที่เกิดจากเจตนาของจิตที่ถูกกระตุ้นผ่านทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ แล้วปรุงแต่งออกไป ทาง 3 ช่องทาง คือ 1. ทางกาย เป็น กายกรรม 2. ทางวาจา เป็น วจีกรรม 3. ทางใจ เป็น มโนกรรม ทำความเข้าใจเรื่องของ “กรรม” ผ่านพุทธพจน์ที่ว่า.. “เรามีกรรมเป็นของๆตน เราจักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น” หมายถึง เมื่อมีเหตุแล้ว ย่อมมีผล “เรามีกรรมเป็นแดนเกิด เร…
  continue reading
 
พัฒนาจิตด้วยปัญญา เพิ่มทีละขั้นๆ ด้วยการเห็นโทษ ของฌานสมาธิขั้นที่ได้ และเห็นประโยชน์ของฌานสมาธิขั้นที่สูงกว่า ทำซ้ำ ๆ โดยเริ่มจาก ฌานที่หนึ่ง ปฐมฌาน จิตสงบ จิต สติ ลมหายใจอยู่ด้วยกันเกิด สมาธิ มีวิตก วิจาร ปีติ สุขจากสมาธิ ละกาม-พยาบาท-เบียดเบียน ฌานที่สอง ทุติยฌาน จิตละเอียด เหลือแต่ปีติ สุข ละวิตก วิจารดับ ฌานที่สาม ตติยฌาน จิตละเอียดยิ่งขึ้น เก…
  continue reading
 
จรณะคือข้อปฏิบัติให้ถึงปัญญาข้อปฏิบัติที่ทำวิชชาให้เกิดขึ้นได้ ข้อปฏิบัตินี้มี 15 อย่าง จรณะมีความหมายเดียวกันกับเสขะปฏิปทาคือข้อปฏิบัติของผู้ที่ยังต้องฝึกต้องปฏิบัติต่อ ข้อปฏิบัติของผู้ที่ยังไม่บรรลุธรรมขั้นสูง บุคคลที่ต้องการบรรลุธรรมจึงต้องปฏิบัติตามเสขะปฏิปทา ดังนั้นจรณะ15 ก็คือเสขะปฏิปทาที่มีเนื้อหาแจงออกเป็น 15 ประการ ตามนัยยะของเสขะปฏิปทาสูต…
  continue reading
 
ฝึกสติ ตั้งสัมปชัญญะในความคิด โดย นึกถืง ธัมโมไว้ตลอดทุกสถาณการณ์ สถาณการณ์ 1 : ฝึกจิตของเราให้คิดก่อนโดย ให้เราวิตก ตริตรึก(คือความคิดนึก) ถึงการเดินทางใดๆของเรา อาจมีสังกัปปะ และวิตก เกิดขึ้น แต่เรามีธัมโมตลอด นี่คือเกิดสติขั้นพื้นฐาน สถาณการณ์ 2 : หยุดคิดเรื่องการเดินทาง จิตอยู่กับธัมโม เพื่อฝึกแยกแยะความแตกต่างระหว่าง สังกัปปะหรือดำริ (คือความค…
  continue reading
 
ได้นำเอา ขัตติยสูตร ที่ว่าด้วยความประสงค์ 5 อย่างของบุคคล 6 ประเภท มาอธิบายขยายความ เพื่อให้ทราบถึงความต้องการที่เหมือนกัน หรือแตกต่างกันของบุคคลแต่ละประเภท เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาความเข้าใจ และสานสัมพันธภาพที่ดีในระหว่างบุคคล เริ่มจากความประสงค์เพื่อให้สมตามสิ่งที่ปรารถนา ในบุคคลแต่ละประเภทนั้น ย่อมมีความประสงค์ต้องการเพื่อให้สมความปรารถนาส…
  continue reading
 
อุเบกขา 3 ระดับ เพื่อการปฏิบัติ ทำซ้ำๆ ให้เกิดปัญญา เพิ่มขึ้นๆ อย่างต่อเนื่อง จนหลุดพ้นได้ 1. อุเบกขาที่เนื่องด้วย “อามิส” คือ อุเบกขาที่เอากามมาล่อ เพื่อให้มีอุเบกขา เช่น ทานของอร่อย ฟังเพลงแล้วจิตใจสงบ 2. อุเบกขาที่เนื่องด้วย “นิรามิส” คือ อุเบกขาที่เกิดจากสมาธิ ปิติ สุข จากในภายใน ไม่มีกามมาล่อ เกิดจากสติ สมาธิ จดจ่อแล้วเกิดปัญญาเห็นต้นเหตุของทุ…
  continue reading
 
ในโลกปัจจุบันนี้มีเรื่องขัดแย้งวุ่นวายเกิดขึ้นหลายเรื่องราว บางเรื่องก็หาทางออกไม่ได้เหตุเพราะมีเรื่องราวที่เกิดจากการหวงกั้น การมีเรื่องราวที่เกิดจากการหวงกั้นขึ้นนั้นมีเหตุเริ่มมาจาก “ตัณหา” คือ เมื่อมีตัณหาจะทำให้เกิดการแสวงหา ทำให้มีการได้ เมื่อได้มาทำให้มีการปลงใจรัก แล้วก่อให้เกิดความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ทำให้มีความสยบมัวเมาอย่างจับอกจับใจ…
  continue reading
 
อินทรีย์หมายถึง 1. ความเป็นใหญ่ของช่องทางทั้งหก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ 2. ความมีชีวิตมีสติ ป้องกันอกุศลเข้ามา 3. อินทรีย์ห้า (ความเป็นใหญ่ของจิต ที่จิตมีอำนาจ มีกำลังที่จะรู้ธรรมหลุดพ้น) การสำรวมอินทรีย์ สามารถแก้ต้นเหตุของพฤติกรรมต่างๆ เช่น อารมณ์ร้อน หงุดหงิด ซึมเศร้า โดยเริ่มจากการมีศีลห้าให้ครบเป็นปกติ และระวัง ไม่เผลอ สำรวม ให้มีสติ ไม่ให้เราเ…
  continue reading
 
“โพธิปักขิยธรรม” คือองค์ธรรมแห่งการตรัสรู้ มี 7 หมวด 37 ประการได้แก่ สติปัฏฐาน4 สัมมัปปธาน4 อิทธิบาท4 อินทรีย์5 พละ5 โพชฌงค์7 มรรคมีองค์8 องค์ธรรมทั้ง 7 หมวดนี้คือองค์ธรรมแห่งการตรัสรู้ธรรมเหมือนกัน ในครั้งนี้จะกล่าวให้เห็นความเหมือนและต่างกันขององค์ธรรมเหล่านี้ คู่แรกคือ “อินทรีย์5” กับ “พละ5” เหมือนกันโดยองค์รวม คือ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา …
  continue reading
 
ตั้งสติ ให้จิตตั้งมั่นด้วยการเจริญพุทธานุสติ ประกอบ มรณานุสติ จิตน้อมระลึกถึงพระพุทธเจ้า แม้พระพุทธเจ้า ไม่อยู่แล้ว แต่ยังมีคำสอน เร่งความเพียร ให้มีสติ ตั้งจิตให้มีอารมณ์อันเดียว ทำได้ทุกเวลา ตั้งสติจดจ่อ ใน พุทโธ ธัมโม สังโฆ ไว้ตลอดเวลา Hosted on Acast. See acast.com/privacy for more information.
  continue reading
 
ผู้ที่มีดวงตา ก็จะสามารถใช้ตามองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ และจะสามารถแสวงหาสิ่งที่ต้องการได้ ในตอนนี้จะกล่าวถึง “การแสวงหา 2 อย่าง ด้วยตา 2 ข้าง” โดยจะกล่าวนัยยะการใช้ดวงตา มาแยกบุคคลได้ 4 จำพวกดังนี้ 1. คนตาบอด คือ บุคคลที่ไม่มีดวงตา (คือปัญญา) มองหาลู่ทางที่จะให้ได้ทรัพย์ที่ยังไม่ได้ มองไม่เห็นทางที่จะทำให้ทรัพย์ที่มีอยู่งอกเงยขึ้น และไม่มีดวงตา ที่เป็น…
  continue reading
 
การเห็นกายโดยความเป็นของสวยงาม จะทำให้ เพลิน ยินดี จึงยึดถือว่ากายเป็นของเรา เป็นตัวตน จึงต้องพิจารณากาย ให้เห็นว่า กายเป็นโทษ กายไม่สวยงาม จะช่วยละความยึดถือ เห็นกายว่าเป็นกองทุกข์ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตนของเรา เห็นตามความเป็นจริง จิตตั้งมั่น พิจารณา จนเกิด ความเบื่อหน่าย คือนิพพิทา จะเกิดปัญญา คลายกำหนัด และปล่อยวางได้ Hosted on Acast. See acast.co…
  continue reading
 
“สติ” เป็นตัวช่วยจัดระเบียบจิตใจของเรา สติที่ท่านพระสารีบุตรอธิบายเจาะจงลงไปคือ เครื่องมือที่ชื่อว่า “กายคตาสติ” โดยท่านอุปมาลักษณะของจิตไว้ 9 อย่าง คือ จิตเสมอด้วยดิน จิตที่มีสติตั้งไว้ก็จะเหมือนกับดินไม่ว่าใครจะทิ้งของสะอาดหรือไม่สะอาด ดินก็ยังเป็นดินเสมอ จิตเสมอด้วยน้ำ จิตที่มีสติตั้งไว้ก็จะเหมือนกับน้ำไม่ว่าใครจะทิ้งของสะอาดหรือไม่สะอาด น้ำก็ยั…
  continue reading
 
ตั้งสติอยู่กับลมหายใจ เป็นผู้สังเกต ให้สติแยกแยะความคิด ผัสสะที่ผ่านเข้ามา จนจิตสงบ ระงับ, รักษาจิตด้วย สติ ปัญญา ความเพียร จะเห็นตามความเป็นจริงว่า จิตไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตนของเรา เห็นตามความเป็นจริง ว่าจิตเป็นเพียงกระแส เกิด ดับ ต่อเนื่องๆไป ควรแล้วหรือที่เราจะยึดมั่นถือมั่น ถ้าจิตไม่ใช่ของเรา แล้วเราควรทำอย่างไรกับจิต Hosted on Acast. See acast.c…
  continue reading
 
“ปัญญา” ในความหมายของพุทธศาสนาคือ การตระหนักรู้หรือตระหนักรู้ถึงธรรมชาติที่แท้จริงของความเป็นจริงที่เหนือกว่าความเข้าใจทั่วไป คือสิ่งที่เมื่อเรารู้และเข้าใจแล้วจะทำความสุขอันยั่งยืนที่เหนือกว่าสุขเวทนา สุขที่ระงับ สุขที่เป็นความสงบเย็น พระพุทธเจ้าได้กล่าวถึงเหตุปัจจัยที่ให้ได้ปัญญาที่ยังไม่ได้และเพื่อความบริบูรณ์แห่งปัญญาที่ได้แล้วไว้ 8 ประการ ได้แ…
  continue reading
 
ระลึกถึงคุณพระธรรมทั้งหก ธัมมานุสสติ เพื่อความเจริญของจิต ๑. สวากขาโต ภควตา ธัมโม คำสอนที่ท่านตรัสไว้ดีแล้ว คือ ๑.๑ ปฏิบัติได้ทั้ง เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด ๑.๒ เป็นเหตุและผล ถึงที่สุด ตรงถึงพระนิพพาน ๑.๓ มีการกำหนดบทคำอธิบายที่จับต้องได้ ๑.๔ มีความบริสุทธิ์และบริบูรณ์ คือปริมาณมากพอ ให้ถึงนิพพานได้ ๒. สันทิฏฐิโก รู้ได้เฉพาะตน ๓. เอหิปัสสิโก สาม…
  continue reading
 
ในช่วงเทศกาลปีใหม่ทุกคนล้วนส่งความสุขให้กันและกัน ในตอนนี้จะกล่าวถึงสุขที่ควรเสพและไม่ควรเสพ เราต้องมีปัญญาที่จะแยกแยะได้ว่าสุขแบบไหนที่ควรเสพและไม่ควรเสพ พระพุทธเจ้าแบ่งความสุขออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ ความสุขที่เกิดจากมิจฉาทิฏฐิ คือความสุขที่เสพแล้วกิเลสเพิ่มขึ้น จิตใจชุ่มไปด้วยกาม ความสุขประเภทที่ไม่ควรเสพนี้มี 4 อย่างคือ 1.ความสุขที่เกิดจากการฆ่า …
  continue reading
 
ส่งความสุขโดยตั้งจิตระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า เพื่อรับกระแสความเมตตา กรุณา ปัญญา ให้เข้าไปถึงจิต ให้จิตชุ่ม อิ่มเอิบ ยินดี กับพุทธคุณเก้า เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบด้วยตนเอง ถึงพร้อมด้วยความรู้และข้อปฏิบัติในการไปถึงความรู้นั้น เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งโลกทุกอย่างแจ่มแจ้ง ฝึกทุกท่าน ไม่มียกเว้น ให้บรรลุธรรม ไกลกิเลส เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ เป…
  continue reading
 
ในพุทธศาสนานี้มีผู้สอนเพียงผู้เดียว คือพระพุทธเจ้า พระองค์เป็นผู้ที่สามารถสอนได้อย่างดี อย่างงามและเมื่อนำคำสอนไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ก็จะให้ผลที่ดีที่งามอย่างมาก ซึ่งความสามารถในการบอกสอนของพระพุทธเจ้าตรงนี้เรียกว่า ภควา คือเป็นผู้จำแนกแจกธรรม ในที่นี้จะกล่าวถึงวิธีสอนของพระพุทธเจ้า โดยจะนำนัยยะต่างๆมากล่าวดังนี้ นัยยะที่1.คุณสมบัติของผู้แสดงธรรม…
  continue reading
 
พัฒนาจิตเพื่อให้เกิดปัญญาอันยิ่ง รอบรู้ กำหนดรู้ ขันธ์ทั้งห้า “รูป เวทนา สัญญา สังขารและ วิญญาณ” ว่า เป็นกองทุกข์ เพราะเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นถือมั่น แต่แท้จริงแล้วขันธ์ทั้งห้าไม่เที่ยง ไม่สามารถควบคุมได้ จึงเป็นทุกข์ หากแต่เมื่อเราพัฒนาจิตจนเกิดความรอบรู้ เกิดปริญญา กำหนดรู้ ว่าขันธ์ทั้งห้า ไม่ใช่ตัวตนของเรา ไม่ควรที่จะยึดมั่น ถือมั่น, เกิดปัญญ…
  continue reading
 
สิ่งที่ควรพิจารณาเนืองๆ 5 ประการ 1.เรามีความแก่เป็นธรรมดา จะไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ คือต้องไตร่ตรองใคร่ครวญอยู่เป็นประจำ ตริตรึกด้วยจิตที่เป็นสมาธิ ด้วยสัมมาทิฏฐิ ด้วยศรัทธา จนเข้าไปสู่จิตใจ ถ้าพิจารณาสิ่งนี้อยู่เนืองๆ อานิสงส์ที่จะได้รับคือ จะทำให้ละความเพลินความมัวเมาในความเป็นหนุ่มสาวได้ 2.เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา จะไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้ พ…
  continue reading
 
จิตมีความเป็นประภัสสร เศร้าหมองหรือผ่องใสได้ตามสิ่งต่างๆที่จรเข้ามา หากแต่การมีสติ จะช่วยแยกแยะ จิต ออกจาก สิ่งที่เข้ามา, มีสติอย่างต่อเนื่อง จะเกิด สมาธิ, สมาธิจะทำให้จิตมีพลัง, จิตมีพลังจะสามารถเลือกให้จิตเป็นกุศล ไม่เพลินไปกับอารมณ์ต่างๆ ไกลจากกิเลสมากขึ้นๆ, นั่นคือการทำจิตตภาวนา คือการพัฒนาของจิต พัฒนาต่อเนื่องๆ จิตจะอ่อนเหมาะ ควรแก่การไปใช้งาน…
  continue reading
 
การบูชา ที่มีสิ่งของประกอบในการบูชานั้น เรียกว่าอามิสบูชา และถ้าเจาะจงว่ามีผู้รับสิ่งของที่ให้นั้นจะเรียกว่า “ทาน” คือการให้ แต่ถ้าตั้งไว้เฉยๆโดยไม่มีผู้รับชัดเจน แต่หวังว่าจะมีผู้รับเรียกว่า “ยัญ” ในที่นี้จะกล่าวถึง การบูชายัญ โดยพระพุทธเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้ใน กูฏทันตสูตร เป็นการกล่าวถึงการบูชายัญที่ถูกต้องไว้กับกูฏทันตพราหมณ์ ลักษณะยัญที่มีองค์ประ…
  continue reading
 
บุคคลควรรู้จักการวินิจฉัยในความสุข ควรประกอบความสุขชนิดที่เป็นในภายใน เราต้องรู้จักวินิจฉัย ไตร่ตรอง ว่า ชีวิตเราจะเลือก ความสุขจากอะไรเป็นหลัก ความสุขมีสองแบบ อย่างแรกคือกามสุข สุขที่เกิดจาก กาม พยาบาท เบียดเบียน เป็นความสุขทั่วๆไปที่เราได้รับผ่านทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นสุขที่มีโทษมาก ประโยชน์น้อยเหมือน สุนัขแทะกระดูก ที่ไม่รู้จักอิ่มและไม่…
  continue reading
 
ในมุมมองของคนที่มักโกรธ พอโกรธหรือไม่พอใจใครแล้ว ก็จะมองคน ๆ นั้นด้วยความเป็นศัตรูทันที เขาจึงเห็นว่าความโกรธมีเพื่อที่จะทำให้ตนเองรู้สึกดี เพราะเขาจะมีความมุ่งหมาย 7 ประการนี้แก่ผู้เป็นศัตรู คือ 1) หวังให้เขามีผิวพรรณทราม 2) หวังให้เขาเป็นทุกข์ 3) หวังให้เขาไม่มีความเจริญ 4) หวังให้เขาปราศจากโภคทรัพย์ 5) หวังให้เขาปราศจากยศตำแหน่ง 6) หวังให้เขาปรา…
  continue reading
 
พรากกาย พรากจิต ดุจพระจันทน์บนฟ้า และ พระจันทน์บนผิวน้ำ เกี่ยวข้องกัน แต่ ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน, แยกด้วยสติ โดยใช้ลมหายใจเป็นเครื่องมือ สงบระงับ จนจิตเป็นสมาธิ หากแต่เมื่อมีสิ่งมากระทบ กายและจิตกลับรวมกันเป็นสิ่งเดียวกันได้อีก เพราะอวิชชา ความไม่รู้ ยึดโยงอยู่กับตัณหา, สิ่งเดียวที่จะแยกกาย แยกจิตได้ อย่างต่อเนื่อง คือ ปัญญา, ปัญญาที่เกิดจาก การเห็นควา…
  continue reading
 
ขันธ์ แปลว่า หมู่หรือกองของรูปกับนามที่แยกออกได้เป็น 5 กอง ซึ่งเรียกว่า ขันธ์ 5 คือ รูป, เวทนา ,สัญญา, สังขาร ,วิญญาณ จัดอยู่ใน “ทุกขอริยสัจ” ความจริงอันประเสริฐคือทุกข์ และกิจที่ต้องทำคือ กำหนดรู้ทุกข์ การทำงานของขันธ์ 5 แต่ละขันธ์ เป็นการอาศัยกันและกันเกิดขึ้นของนามรูป และวิญญาณเป็นปัจจัยจึงมีผัสสะ -> ให้เกิดการปรุงแต่ง คือ สังขาร -> สัญญา -> เวท…
  continue reading
 
เกิดชัยชนะที่ไม่กลับแพ้ได้ ด้วยปัญญา พิจารณาว่า ทุกสิ่งใดๆในโลก ล้วนปรุงแต่ง มีความไม่เที่ยง เป็นอนัตตา ให้เห็นว่าทุกสิ่งเป็นสมมุติ โดยเริ่มจาก มีสติ เกิดสมาธิ ทำจิตให้มีกำลัง เกิดปัญญา ใช้เป็นอาวุธ เพื่อตัด กิเลสตัณหา ที่เชื่อมยึดถือหรืออุปาทาน อยู่กับจิต โดยมี อวิชชาเป็นรากเหง้าอยู่ในจิต เมื่อเห็นตามความเป็นจริงในจิตว่าทุกสิ่งไม่เที่ยง เป็นอนัตตา…
  continue reading
 
“ทุกขอริยสัจ” ความจริงอันประเสริฐ คือ “ทุกข์” อุปาทาน (ความยึดถือ) ในขันธ์ 5 เป็นทุกข์ ไม่ว่าสิ่งนั้นจะเป็นสุข หรือ ทุกข์ ต่างอาศัยเหตุเกิด ย่อมเป็นทุกข์ เพราะมีความไม่เที่ยง เป็นอนัตตา ขันธ์ 5 คือ กองทุกข์ แบ่งออกได้เป็น 5 กอง ได้แก่ “รูป” คือ สิ่งที่แตกสลายได้ เปรียบเหมือนก้อนฟองน้ำ ย่อมปรากฏเป็นของว่างเปล่า หาแก่นสารมิได้ “เวทนา” คือ ความรู้สึกท…
  continue reading
 
ทำไม ความคิดนึก จึงเป็นการภาวนาได้ เพราะมีสติ สัมปชัญญะ กำกับอยู่ในความคิดนั้น, ดังนั้นจิตจะถูกรักษา ให้คิดนึก ด้วยความระลึกรู้ คือมีสติ ด้วยความรู้ตัวรอบคอบคือมีสัมปชัญญะ นั่นคือมีปัญญาเกิดขึ้นแล้วคือ มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสติ สัมมาวายามะ พร้อมกันทั้งสามสิ่ง, เกิด สัมมาสังกัปปะ ปราศจากกาม พยาบาท เบียดเบียน, นำไปสู่ สัมมากัมมันตะและสัมมาอาชีวะ ดำรงอยู่…
  continue reading
 
การที่เราจะรู้จักใครสักคนอย่างดีพอนั้น… ไม่ใช่จากคำบอกเล่าของบุคคลอื่น หรือ จากสิ่งที่เราได้ยินได้เห็นเพียงแค่ในช่วงเวลาสั้นๆ นั้น แต่ต้องอาศัยเวลาในการอยู่ร่วมกันนานพอสมควร รวมถึงการทำไว้ในใจโดยแยบคาย และปัญญา ฐานสูตร ว่าด้วยฐานะที่พึงรู้ด้วยฐานะ เราจะรู้ได้ว่าบุคคลนั้น มีศีล สมาธิ และปัญญาจะพิจารณาได้จาก “ศีล” คือความปกติ พึงรู้ได้ด้วยการอยู่ร่วม…
  continue reading
 
เราจะศรัทธา ปฏิบัติตามสิ่งใด สิ่งนั้นต้องตรวจสอบได้ ต้องพ้นทุกข์ได้จริง โดยต้องประกอบด้วยมรรคมีองค์แปด ตลอดทางที่ดำเนินไป คือ มีศีล สมาธิ ปัญญา เริ่มจาก มีศรัทธา พร้อมปัญญา ว่าสิ่งนั้นตรวจสอบได้ด้วยตนเอง เมื่อมั่นใจแล้ว ตั้งใจลงมือทำ ด้วยความเพียร มีสติ สมาธิ ปัญญา เกิดขึ้น จะเห็นว่า ทุกๆสิ่ง ไม่เที่ยง มีเงื่อนไข ปัจจัยเกิดขึ้น มีทุกข์ ไม่ควรยึดถือ…
  continue reading
 
เหตุให้อายุยืน ได้แก่ 1. รู้จักทำความสบายแก่ตนเอง คือรู้จักสิ่งที่เป็นสัปปายะ รู้จักสิ่งที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของตน 2. รู้จักประมาณในสิ่งที่สบาย 3. บริโภคอาหารที่ย่อยง่าย รวมถึงการเคี้ยวอาหารให้ละเอียดด้วย 4. ประพฤติเหมาะสมในเรื่องเวลา คือ ทำกิจกรรมที่เหมาะสมกับเวลาอย่างสม่ำเสมอ เช่น นอนให้เป็นเวลา ตื่นเป็นเวลา ออกกำลังให้สม่ำเสมอเป็นเวลา 5. ประพ…
  continue reading
 
จิตที่ไหลไปตามกระแส สุขๆ ทุกข์ๆ ไม่มีที่พึ่ง ไม่มีที่เกาะ ตามหาที่พึ่งไปเรื่อยๆ ขาดที่พึ่งที่แท้จริง หากแต่ เมื่อเรามี สติเป็นที่พึ่ง มีธรรมเป็นที่พึ่ง จะไม่ยึดในเวทนาทั้งสุขและทุกข์, ระลึก รู้ตัว ในสิ่งต่างๆคือ มีสติปัฏฐานสี่เป็นที่พึ่งตลอด, อกุศลธรรมดับ กุศลธรรมเกิด ข้ามกระแสน้ำเชี่ยว ด้วยสติสัมปชัญญะ Hosted on Acast. See acast.com/privacy for mo…
  continue reading
 
“นิวรณ์ 5” กิเลสที่กั้นจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม เกิดขึ้นในช่องทางใจระหว่างการปฏิบัติสมาธิภาวนา เป็นเครื่องขวางกั้น ทำให้จิตขุ่นมัว ไม่เป็นสมาธิประกอบด้วย 5 อย่างดังนี้ 1. กามฉันทะ คือ ความพอใจในกาม, ความต้องการกามคุณ 2. พยาบาท คือ ความคิดร้าย, ความขัดเคืองแค้นใจ 3. ถีนมิทธะ คือ ความง่วงเหงาความซบเซาเซื่องซึม, ความหดหู่ 4. อุทธัจจกุกกุจจะ คือความฟ…
  continue reading
 
“บางคนนั่งเฉย ๆ ไม่ได้ไปหาใครพูดกับใคร แต่เบียดเบียนคนอื่นได้ เบียดเบียนตัวเองได้ ตรงความคิดไง ตัวไม่ขยับแต่จิตมันขยับ” หยุดจิตให้ได้ อย่าให้จิตไหลไปตามผัสสะ ควบคุมจิตไม่ให้คิดเรื่องต่างๆ ด้วยสติ ด้วยลมหายใจ จิตสงบ ระงับ เกิดสัมมาสมาธิ, แล้วใช้ปัญญาพิจารณา จิต เดี๋ยวผ่องใส เดี๋ยวขุ่นมัว เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตามเหตุการปรุงแต่ง จะเห็น จิตก็ไม่เที่ยง เ…
  continue reading
 
ที่พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสไว้ว่าให้พึ่งตน พึ่งธรรมนั้น หมายถึง พึ่งธรรมของพระองค์ ในตอนนี้จึงจะยกธรรมเป็นที่พึ่ง หรือคุณธรรมที่ทำให้ตนเป็นที่พึ่งของตนได้ คือนาถกรณธรรม 10 ประการ มากล่าว ดังนี้ ศีล คือ ความประพฤติดีงามสุจริต รักษาระเบียบวินัย ผู้มีศีลถือว่าเป็นผู้มีที่พึ่งแล้ว พาหุสัจจะ คือ ความเป็นผู้ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก มีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในธ…
  continue reading
 
เจริญสติโดยการพิจารณากาย ใช้กายเพื่อชำระจิต ให้เห็นกาย ตามความเป็นจริง ให้เห็นกายนี้ว่า เป็นทั้งสิ่งปฏิกูล และเป็นสิ่งไม่ปฏิกูล และให้อยู่อุเบกขาในสิ่งนั้น ทำอย่างต่อเนื่อง, จิตจะแยกออกจากกาย จิตไม่ไปยึดถือ ยึดมั่นในกายว่าเป็นตัวตนของเรา, กิเลสในจิต จะค่อยๆ หลุดออกไปๆ ด้วยความเพียร ในการพิจารณากายซ้ำๆ ปัญญาจะเกิดขึ้น Hosted on Acast. See acast.com/…
  continue reading
 
Loading …

คู่มืออ้างอิงด่วน

ฟังรายการนี้ในขณะที่คุณสำรวจ
เล่น