ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.5
บรรทัด 8: บรรทัด 8:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔ เกิดจากการรวมตัวของวิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีวศึกษา และวิทยาลัยการอาชีพในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง 2 จำนวน 7 แห่ง โดยอำศัยอำนาจตามมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ระบุว่า "สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษาสามารถรวมเข้าไว้ในสถาบันการจัดตั้งคณะกรรมการอาชีวศึกษาเข้าด้วยกันในสถาบันอาชีวศึกษาสามารถทำได้โดยคำนึงถึงความร่วมมือที่เกิดประโยชน์สูงสุด ทรัพยากรร่วมกันทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง ... "<ref> http://www.ivene3.ac.th/index.php/history/</ref>
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔ เกิดจากการรวมตัวของวิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีวศึกษา และวิทยาลัยการอาชีพในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง 2 จำนวน 7 แห่ง โดยอำศัยอำนาจตามมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ระบุว่า "สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษาสามารถรวมเข้าไว้ในสถาบันการจัดตั้งคณะกรรมการอาชีวศึกษาเข้าด้วยกันในสถาบันอาชีวศึกษาสามารถทำได้โดยคำนึงถึงความร่วมมือที่เกิดประโยชน์สูงสุด ทรัพยากรร่วมกันทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง ... "<ref> http://www.ivene3.ac.th/index.php/history/ {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170709170327/http://www.ivene3.ac.th/index.php/history/ |date=2017-07-09 }}</ref>


ต่อมาสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) ได้ประกาศจัดตั้ง "คณะกรรมการอาชีวศึกษา" เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์การรวมและแยกสถาบันการศึกษาเพื่อจัดตั้งเป็น "สถานบันการอาชีวศึกษา จำนวน 19 แห่งทั่วไปประเทศ และจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรประจำภูมิภาคอีกจำนวน 4 แห่ง
ต่อมาสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) ได้ประกาศจัดตั้ง "คณะกรรมการอาชีวศึกษา" เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์การรวมและแยกสถาบันการศึกษาเพื่อจัดตั้งเป็น "สถานบันการอาชีวศึกษา จำนวน 19 แห่งทั่วไปประเทศ และจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรประจำภูมิภาคอีกจำนวน 4 แห่ง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:24, 26 มิถุนายน 2566

สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔ (อังกฤษ: Institute of Vocational education : Northeastern Region 4) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เกิดจากการรวมตัวกันของ วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีวศึกษา และวิทยาลัยการอาชีพในกลุ่ม (จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง ๒) อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร และอำนาจเจริญ  เพื่อทำหน้าที่ผลิตปัญญาชน คนอาชีวศึกษาสู่ตลาดแรงงานซึ่งในปัจจุบันถือว่ามีความต้องการสูง และเพิ่มอัตรากำลังคนอาชีวศึกษาให้ได้รับการศึกษาขั้นสูง โดยเปิดทำการสอนในระดับปริญญาตรี (สายปฏิบัติการ) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 

สถาบันการอาชีวศึกษา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔
ชื่อย่อสอฉ.๔ / IVENE 4
ประเภทสถาบันอุดมศึกษาในกำกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สถาปนา2557
นายกสภานายนิยม ศรีวิเศษ
ที่ตั้ง
632 หมู่ที่ 4 ถ.วาริน-พิบูล ต.บุ่งไหม อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี 34190
วิทยาเขต
เว็บไซต์www.ivene4.ac.th

ประวัติ

สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔ เกิดจากการรวมตัวของวิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีวศึกษา และวิทยาลัยการอาชีพในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง 2 จำนวน 7 แห่ง โดยอำศัยอำนาจตามมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ระบุว่า "สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษาสามารถรวมเข้าไว้ในสถาบันการจัดตั้งคณะกรรมการอาชีวศึกษาเข้าด้วยกันในสถาบันอาชีวศึกษาสามารถทำได้โดยคำนึงถึงความร่วมมือที่เกิดประโยชน์สูงสุด ทรัพยากรร่วมกันทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง ... "[1]

ต่อมาสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) ได้ประกาศจัดตั้ง "คณะกรรมการอาชีวศึกษา" เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์การรวมและแยกสถาบันการศึกษาเพื่อจัดตั้งเป็น "สถานบันการอาชีวศึกษา จำนวน 19 แห่งทั่วไปประเทศ และจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรประจำภูมิภาคอีกจำนวน 4 แห่ง

จึงทำให้ วิทยาลัยเทคนิคอุบราชธานี วิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม วิทยาลัยเทคนิคยโสธร วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ วิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบราชธานี และวิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ รวมควบตั้งขึ้นเป็น "สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔" ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยมีศูนย์กลางที่จังหวัดอุบลราชธานี[2]

หน่วยงานในสังกัด

วิทยาลัย[3]

  • วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี
  • วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี
  • วิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม
  • วิทยาลัยเทคนิคยโสธร
  • วิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญ
  • วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ
  • วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ
  • วิทยาลัยเทคนิคราษีไศล
  • วิทยาลัยการอาชีพขุขันธ์
  • วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย์
  • วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์
  • วิทยาลัยเทคนิคพิบูลมังสาหาร
  • วิทยาลัยการอาชีพขุนหาญ
  • วิทยาลัยสารพัดช่างศรีสะเกษ

หลักสูตร

หลักสูตรที่เปิดสอนในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔[4]
วิทยาลัย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระดับปริญญาตรี (ต่อเนื่อง)[5]
ศูนย์กลางเทคนิคอุบลราชธานี หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
  • การก่อสร้าง
  • เครื่องกล
  • เครื่องมือกลและซ่อมบำรุง
  • ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
  • โลหะการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
  • การก่อสร้าง
  • การบัญชี
  • เครื่องกล
  • เทคนิคการผลิต
  • เทคนิคโลหะ
  • เทคนิคอุตสาหกรรม
  • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
  • เทคโนโลยีโทรคมนาคม
  • เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • ไฟฟ้ากำลัง
  • เมคคาทรอนิกส์
  • โยธา
  • อิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
  • สาขาวิชาเทคโลยีการก่อสร้าง
  • สาขาวิชาเทคโลยีอิเล็กทรอนิกส์
  • สาขาวิชาเทคโลยีไฟฟ้า
  • สาขาวิชาเทคโลยียานยนต์
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีแม่พิมพ์
วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
  •   เครื่องกล
  • เครื่องมือกลและซ่อมบำรุง
  • พณิชยการ
  • ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
  • โลหะการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
  • การจัดการทั่วไป
  • การบัญชี
  • คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • เครื่องกล
  • เทคนิคการผลิต
  • ไฟฟ้ากำลัง
  • อิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
  • สาขาวิชาการตลาด
วิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
  • การก่อสร้าง
  • เครื่องกล
  • เครื่องมือกลและซ่อมบำรุง
  • พณิชยการ
  • ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
  • โลหะการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
  • การจัดการทรัพยากรมนุษย์
  • การจัดการโลจิสติกส์
  • การตลาด
  • การบริหารงานคหกรรมศาสตร์
  • การบัญชี
  • คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • เครื่องกล
  • เทคนิคโลหะ
  • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
  • เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • ธุรกิจสถานพยาบาล
  • ไฟฟ้ากำลัง
  • โยธา
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีก่อสร้าง
วิทยาลัยเทคนิคยโสธร หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
  • การก่อสร้าง
  • คหกรรมศาสตร์
  • เครื่องกล
  • เครื่องมือกลและซ่อมบำรุง
  • ผ้าและเครื่องแต่งกาย
  • พณิชยการ
  • ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
  • โลหะการ
  • อาหารและโภชนาการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
  • การก่อสร้าง
  • การตลาด
  • การบัญชี
  • การเลขานุการ
  • คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • เครื่องกล
  • เทคนิคการผลิต
  • เทคนิคโลหะ
  • เทคนิคสถาปัตยกรรม
  • เทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย
  • เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • ไฟฟ้ากำลัง
  • อิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
  • สาขาวิชาเทคโนโลยียานยนต์
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
  • การก่อสร้าง
  • คหกรรมศาสตร์
  • เครื่องกล
  • เครื่องมือกลและซ่อมบำรุง
  • ผ้าและเครื่องแต่งกาย
  • พณิชยการ
  • ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
  • โลหะการ
  • อาหารและโภชนาการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
  • การก่อสร้าง
  • การตลาด
  • การบัญชี
  • คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • เครื่องกล
  • เทคนิคการผลิต
  • เทคนิคการหล่อ
  • เทคนิคโลหะ
  • เทคนิคสถาปัตยกรรม
  • เทคนิคอุตสาหกรรม
  • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
  • เทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย
  • ไฟฟ้ากำลัง
  • อาหารและโภชนาการ
  • อิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
  • สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
วิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
  • การก่อสร้าง
  • เครื่องกล
  • เครื่องมือกลและซ่อมบำรุง
  • พณิชยการ
  • ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
  • โลหะการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
  • การก่อสร้าง
  • การตลาด
  • การบัญชี
  • คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • เครื่องกล
  • เทคนิคโลหะ
  • ไฟฟ้ากำลัง
  • โยธา
  • อิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
  • สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
  • คหกรรมศาสตร์
  • ผ้าและเครื่องแต่งกาย
  • พณิชยการ
  • ศิลปกรรม
  • อาหารและโภชนาการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
  • การจัดการธุรกิจค้าปลีก
  • การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว
  • การตลาด
  • การบริหารงานคหกรรมศาสตร์
  • การบัญชี
  • การโรงแรมและบริการ
  • การเลขานุการ
  • การออกแบบ
  • คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • เทคโนโลยีการถ่ายภาพและวิดีทัศน์
  • เทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย
  • เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม
  • วิจิตรศิลป์
  • อาหารและโภชนาการ
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
  • สาขาวิชาการบัญชี

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง

  1.  http://www.ivene3.ac.th/index.php/history/ เก็บถาวร 2017-07-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. http://www.ivene4.ac.th/home/images/2concern-1/1c.pdf
  3. http://www.ivene4.ac.th/home/images/2concern-1/6c.pdf
  4. "หลักสูตรอาชีวศึกษา". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-04. สืบค้นเมื่อ 2017-04-17.
  5. "ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา เรื่อง ให้เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. ๒๕๕๘" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-10-10. สืบค้นเมื่อ 2017-04-17.

แม่แบบ:สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔