ภาษาจีนมาตรฐาน
ภาษาจีนมาตรฐาน | |
---|---|
Modern Standard Mandarin | |
普通话 / 普通話 Pǔtōnghuà 国语 / 國語 Guóyǔ 华语 / 華語 Huáyǔ | |
ประเทศที่มีการพูด | จีน, สิงคโปร์ |
จำนวนผู้พูด | ไม่ทราบ (has begun acquiring native speakers อ้างถึง1988, 2014)[1][2] L2 speakers: 7% of China (2014)[3][4] |
ตระกูลภาษา | จีน-ทิเบต
|
รูปแบบก่อนหน้า | Middle Mandarin
|
ระบบการเขียน | Traditional Chinese Simplified Chinese Mainland Chinese Braille Taiwanese Braille Two-Cell Chinese Braille |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ |
|
ผู้วางระเบียบ | National Language Regulating Committee (China)[5] National Languages Committee (Taiwan) Promote Mandarin Council (Singapore) Chinese Language Standardisation Council (Malaysia) |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | – |
ISO 639-6 | goyu (Guoyu) huyu (Huayu) cosc (Putonghua) |
ประเทศที่ใช้ภาษาจีนมาตรฐานเป็นภาษาราชการ | |
ภาษาจีนมาตรฐาน (อังกฤษ: Standard Chinese) หรือ ผู่ทงฮฺว่า (จีน: 普通话/普通話; พินอิน: Pǔtōnghuà; "ภาษาสามัญ") เป็นภาษามาตรฐานซึ่งเป็นภาษาราชการเพียงหนึ่งเดียวของทั้งประเทศจีนและประเทศไต้หวัน ทั้งยังเป็นหนึ่งในภาษาราชการทั้งสี่ของประเทศสิงคโปร์ ภาษาจีนมาตรฐานออกเสียงตามสำเนียงเป่ย์จิงหรือปักกิ่ง (北京話) ซึ่งเป็นสำเนียงจีนเหนือ ใช้คำศัพท์ตามสำเนียงกลาง และใช้ไวยากรณ์ตามภาษาจีนที่ใช้เขียนในชีวิตประจำวัน (written vernacular Chinese)
ภาษาจีนมาตรฐานมีวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีนแบบอื่น ๆ เมื่อเทียบกับภาษาจีนที่ใช้ในตอนใต้แล้ว ภาษาจีนมาตรฐานมีพยัญชนะต้นมากกว่า แต่มีสระ พยัญชนะท้าย และวรรณยุกต์ น้อยกว่า นอกจากนี้ ภาษาจีนมาตรฐานยังเน้นหัวเรื่อง (topic-prominent) และเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม
ภาษาจีนมาตรฐานนั้นใช้อักษรแบบเต็มหรือแบบย่อเขียนก็ได้ ส่วนการถอดเป็นอักษรโรมันนั้นใช้อักษรพินอินแบบฮั่น
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Norman (1988), pp. 251.
- ↑ Liang (2014), p. 45.
- ↑ Luo, Chris (22 September 2014). "One-third of Chinese do not speak Putonghua, says Education Ministry". South China Morning Post.
- ↑ Only 7% of people in China speak proper Putonghua: PRC MOE, Language Log, 2014 Sept. 24
- ↑ http://www.china-language.gov.cn/ เก็บถาวร 2015-12-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (Chinese)