Academia.eduAcademia.edu

Ancient China Civilization

Ancient China Civilization ประเทศจีน เป็ น ประเทศที่ม ี อ ารยธรรมยาวนานที่สุ ด ประเทศหนึ่ ง โดย หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ท่ี สามารถค้นคว้าได้บง่ ชีว้ า่ อารยธรรมจีนมีอายุถงึ 5,000 ปี และมีการสืบทอดอารยธรรมได้ยาวนานทีส ่ ดุ แม่น้ำฮวงโห และแยงซี พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในสมัยแรกเริ่ม 1. ยุคก่ อน ประวัตศิ าสตร์ 2. ยุคหินเก่ า 3. ยุคหินใหม่ ย ุคก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อประมาณ 700,000 ซึ่งเป็ นกลางสมัยของยุคนา้ แข็ง โครงกระดูกมนุษย์ ที่ ได้ ค้นพบ และมีชื่อเสี ยงมากคือ มนุษย์ ปักกิง่ ซึ่งเป็ นมนุษย์ ลงิ (Ape Man) พบที่ โจวโข่ วเตียน (Chou-K’ou-Tien) ย ุคหินเก่า ร่องรอยของมนุษย์ในยุคหินเก่าทีส่ าคัญของจีนอย่างน้อย 3 แห่ง ความทันสมัยของมนุษย์ เห็นได้จาก การรูจ้ กั อาศัยอยูใ่ นถ้า ประดิษฐ์ เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ จำกเครื่องมือหินตัด พัฒนำเป็ นเครือ่ งมือหินขัด เครื่องปัน้ ดินเผำ ภำชนะดินเผำ ถูกพัฒนำให้มีลวดลำย ย ุคหินใหม่: about 7000 BC. มีความเจริญหลาย คือการเพาะปลูก โดยสังคมเป็ นสังคมเกษตรบริเวณที่ราบลุ่มแม่น ้าฮวงโห อารยธรรมจีนได้ เริ่มก่ อตัวขึน้ ในบริเวณที่ราบจีนเหนือ พื ้นที่มีความ อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ เพราะดินเหลืองเป็ นดินดี ร่วนซุย วัฒนธรรมหยางเชา ( Yang Shao Culture ): ลมุ่ แม่น้าฮวงโห วัฒนธรรมหยางเฉา เป็นวัฒนธรรมในยุคหินใหม่ ตัง้ อยูต่ อนกลางของ แม่น้าฮวงโห ประเทศจีน มีอายุประมาณ 5000 BC ถึง 3000 BC. ในปี 1921 ได้คน้ พบแหล่งอารยธรรมนี้ทห่ี มูบ่ า้ นหยางเฉา เมืองเหอหนัน จึงเป็นทีม่ าของชือ่ อารยธรรม พบควำมเจริญที่เรียกว่ำ วัฒนธรรมหยำงเชำ ( Yang Shao Culture ) พบ หลักฐำนที่เป็ นเครื่องปัน้ ดินเผำ มีลกั ษณะสำคัญคือ เครื่องปัน้ ดินเผำเป็ นลำย เขียนสี มักเป็ นลำยเรขำคณิต พืช นก สัตว์ต่ำงๆ และพบใบหน้ ำมนุษย์ สีที่ใช้เป็ น สีดำหรือสีม่วงเข้ม นอกจำกนี้ ยงั มีกำรพิมพ์ลำยหรือขูดสลักลำยเป็ นรูปลำยจัก สำน ลำยเชือกทำบ ั ้ นเผา พบ วัฒนธรรมหยางเฉาโดดเด่นในเรือ่ งการทาเครือ่ งปนดิ ั ้ นเผาเป็ นลายเขียนสี มักเป็น หลักฐานทีส่ าคัญคือ เครือ่ งปนดิ ลายเรขาคณิต พืช นก สัตว์ต่างๆ และพบใบหน้ามนุษย์ สีทใ่ี ช้ เป็นสีดาหรือสีมว่ งเข้ม นอกจากนี้ยงั มีการพิมพ์ลายหรือขูดสลัก ลายเป็นรูปลายจักสาน ลายเชือกทาบ วัฒนธรรมหลงซำน (Lung Shan Culture) เป็ นอารยธรรมในยุคหินใหม่ เกิดขึน้ ในพืน้ ทีต่ อนกลางและตอนล่างของแม่น้าฮวงโห และบริเวณแม่น้า แยงซี มีอายุประมาณ 3000 BC – 2000 BC วัฒนธรรมหลงซำน ( Lung Shan Culture ) พบหลักฐำนที่เป็ น เครื่องปัน้ ดินเผำมีลกั ษณะสำคัญคือ เครื่องปัน้ ดินเผำมีเนื้ อละเอียด สีดำขัดมันเงำ คุณภำพดีเนื้ อบำงและแกร่ง เป็ นภำชนะ 3 ขำ ั ้ นเผา แล้วยังพบว่าสมัยนัน้ ชาวจีน เป็นสังคมที่ นอกจากเครือ่ งปนดิ พัฒนาแล้ว คือ เป็นสังคมเกษตร มีการเลีย้ งสัตว์ รูจ้ กั ขุดบ่อน้าไว้ใช้ยามขาดแคลน มีการทอผ้า หมูบ่ า้ นมีการรักษาความปลอดภัยเป็นอย่างดีดว้ ยการสร้างกาแพง ล้อมรอบ เป็นกาแพงดินทีท่ าจากดินเหนียวคลุกเคล้าไปกับเศษหญ้า และเชือ่ ในเรือ่ งโชคชะตา สมัยประวัติศาสตร์ของจีนแบ่งได้ 4 ย ุค ประวัติศำสตร์สมัยโบรำณ เริม่ ตัง้ แต่สมัยราชวงศ์เฉีย สิน้ สุดสมัยราชวงศ์โจว - ประวัติศำสตร์สมัยจักรวรรดิ เริม่ ตัง้ แต่สมัยราชวงศ์จนิ๋ จนถึงปลายราชวงศ์ชงิ หรือเช็ง - ประวัติศำสตร์สมัยใหม่ เริม่ ปลายราชวงศ์เช็งจนถึงการปฏิวตั เิ ข้าสู่ระบอบสังคมนิยม - ประวัติศำสตร์ร่วมสมัย เริม่ ตัง้ แต่จนี ปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลงการปกครองเข้าสูร่ ะบอบสังคมนิยม หรือคอมมิวนิสต์จนถึงปจั จุบนั - 1. Xia Dynasty (2200 - 1750 BC) ราชวงศ์เฉีย เป็ นราชวงศ์แรกของจีน มี การปกครองแบบนครรัฐ ตาแหน่ งกษัตริยส์ บื ทอดโดยสายโลหิต เชือ่ ว่า ประมุขเป็ นผูต้ ดิ ต่อกับสวรรค์ มีการใช้รถม้าในการทาสงคราม ปฏิทนิ ของราชวงศ์เฉีย เป็ นทีย่ อมรับว่า มีความใกล้เคียงกับปจั จุบนั มากทีส่ ดุ กษัตริยอ์ งศ์สุดท้ายของราชวงศ์ปกครอง แบบเผด็จการ จึงถูกขุนนางก่อกบฏ ในสมัยนี้ไม่มตี วั อักษร แต่เริม่ มีการใช้อกั ษรภาพเป็ นสือ่ ตัวอักษร นัน้ เป็นคุณค่าทางศิลปกรรม การเขียนยังถูกอภิสทิ ธิส์ าหรับชน ชัน้ สูงเท่านัน้ ศิลปวัตถุทข่ี น้ึ ชือ่ คือ เครือ่ งทองสัมฤทธิ ์ พฒ ั นามาจากการผลิต ั ้ นเผา ในวัฒนธรรมหยางเชา โดยจะใช้ในการประกอบ เครือ่ งปนดิ พิธกี รรม ในพระราชวัง สาหรับชนชัน้ สูงเท่านัน้ 2. Shang Dynasty (1750 - 1040 BC) ราชวงศ์ชางหรือยิน เป็ นผู้กบฏล้มล้ำง รำชวงศ์เฉี ย แต่ยงั รูปแบบการปกครองแบบ นครรัฐ (พีไ่ ปน้อง) เช่นเดียวกับราชวงศ์เฉีย ซึง่ เมืองเล็กๆ ต้องส่งเครื่องบรรณาการ เศรษฐกิจ เป็ นแบบเกษตรกรรม ทองสัมฤทธิ ์ แพร่หลาย อักษรภาพมีการพัฒนาให้ทนั สมัย การทานายโชคชะตาเป็ นทีแ่ พร่หลาย ปฏิทนิ สมบูรณ์แบบมากทีส่ ุดโดยแบ่งออกตามฤดูกาล เทพเจ้าทีบ่ ชู า ได้แก่ บรรพบุรุษ เทพเจ้าใน ธรรมชาติ และเทพเจ้าชางตี่ หรือ เทพเจ้าแห่ง สงครามบ้านเรือนมีรปู ร่างสีเ่ หลีย่ ม หลังคามุง กระเบือ้ งหรือจาก หันหน้าไปทางตะวันออกหรือ ใต้ มีกาแพงล้อมรอบ นิยมฝงั ศพในโลงแทนการ ฝงั ดิน มีการประดิษฐ์ตวั อักษรขึน้ ใช้ เป็ นครัง้ แรก พบจำรึกบน กระดองเต่ำ และกระดูก วัว เรื่องทีจ่ ารึกส่วนใหญ่เป็ น การทานายโชคชะตาจึง เรียกว่า “กระดูกเสี่ยงทำย” รำชวงศ์โจว Western Zhou (1100 - 771 BC) Eastern Zhou Dynasty (771 - 256 BC) การเมืองการปกครอง แนวความคิดด้านการปกครอง เชือ่ เรื่องกษัตริยเ์ ป็ น “โอรส แห่งสวรรค์” สวรรค์มอบอานาจให้มาปกครองมนุษย์ เรียกว่า “อาณัตแห่งสวรรค์” เริม่ ต้นย ุคศักดินาของจีน -มีการประดิษฐ์ใช้เงินตราเป็ นตัวกลาง - อาชีพส่วนใหญ่คือการประกอบอาชีพกสิ กรรม - มีการประดิษฐ์อาวุธร้ายแรง ได้แก่ธนู และเครือ่ งเหวีย่ งกระสุนสาหรับปิ ดล้อมเมือง - มีการก้าวหน้าในการชลประทาน การป้องกันน้ าท่วม การใช้ป๋ ุยธรรมชาติ การใช้ คันไถเหล็ก ลัทธิขงจื๊อ แนวคิดแบบอนุรกั ษ์นิยม เน้นความสัมพันธ์และการทาหน้าทีข่ องผูค้ น ในสังคม ระหว่างจักรพรรดิกบั ราษฎร บิดากับ บุตร พีช่ ายกับน้องชาย สามีกบั ภรรยา เพือ่ น กับเพือ่ น เน้นความกตัญญู เคารพผูอ้ าวุโส ให้ ความสาคัญกับครอบครัว เน้นความสาคัญของการศึกษา ลัทธิเต๋ า โดยเล่าจื๊อ มีแนวทางเน้นการดาเนินชีวติ ที่เรี ยบง่าย ไม่ ต้องมีระเบียบแบบแผนพิธีรีตองใดใดเน้น ปรับตัวเข้าหาธรรมชาติ ลัทธิน้ ีมีอิทธิพลต่อศิลปิ น กวี และจิตรกรจีน คาสอนทั้งสองลัทธิเป็ นที่พ่ งึ ทางใจของผูค้ น Qin Dynasty (221 - 207 BC) รำชวงศ์จิ๋นหรือฉิน จักรพรรดิทย่ี งิ่ ใหญ่สามารถรวมดินแดนของจีน ให้เป็ นจักรวรรดิ เป็ นครัง้ แรกคือ พระเจ้ำชิวงั ่ ตี่ หรือ จิ๋นซีฮ่องเต้ เป็ นผูใ้ ห้สร้าง กำแพง เมืองจีน มีการใช้เหรียญกษาปณ์ มาตราชัง่ ตวง วัด ประกาศให้ใช้ภาษาเขียนเดียวกันทัวประเทศ ่ เก็บภาษี มีกำรใช้ม้ำในกำรทำศึกสงครำม Han Dynasty (207 BC - AD 220) รำชวงศ์ฮนั ่ เป็ นยุคทองด้านการค้าของจีน มีการ ค้าขายกับอาณาจักรโรมัน อาหรับ และ อินเดีย โดยเส้นทางการค้าที่ เรียกว่า เส้นทำงสำยไหม (Silk Rood) ลัทธิขงจื๊อ คาสอนถูกนามาใช้เป็ นหลัก ในการปกครองประเทศ มีการสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการ เรียกว่า จอหงวน ในสมัยราชวงศ์ฮนั่ ส่ วนใหญ่ยงั คงรู ปแบบการปกครองเดียวกับราชวงศ์ ฉิน เพียงแต่บางส่ วนได้ ปรับให้เข้ากับสถานการณ์ อย่างในเรื่ องการปกครอง แบบรวมศูนย์อานาจ ก็มีการนาเอาระบบศักดินามาปรับใช้ในบางพื้นที่ โดย ได้มีนโยบายการปกครองแบบ “ผ่อนภาระหน้าที่ประชาชน” และยังเป็ นการ เสริ มสร้างการปกครองของตนให้มน่ั คงด้วย ต่อมาได้มีการรื้ อฟื้ นการศึกษา หลักคาสอนของขงจื้อกลับขึ้นมาใหม่ เส้นทางสายไหม (Silk Road) ซือหม่าเซียน ประพันธ์ หนังสือ “สื่อจี”้ หรือ”บันทึกประวัติศาสตร์ ” เป็ นบทนิพนธ์ ด้าน ประวัติศาสตร์ ชิ้นยิง่ ใหญ่ ของจีน โดยได้บันทึกสภาพการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ ในระยะเวลา 3,000 ปี ตั้งแต่ สมัยราชวงศ์ เฉียจนถึง ราชวงศ์ ฮั่นสมัยอู่ตี้ โดยเล่มแรกใช้ แนวเขียนโดยอาศัยชีวประวัติของบุคคลสาคัญ เป็ นแกนกลาง นับได้ว่า เป็ นการริเริ่มวรรณกรรมประเภทบันทึก ประวัติศาสตร์ ของประเทศจีน ไช่หล ุน เป็ นผู้ค้นพบวิธีทากระดาษ โดยได้ สมญานามว่ า “บิดาแห่ งการผลิตกระดาษ” จางเหิง นักวิทยาศาสตร์ และนักดาราศาสตร์ ได้ ประดิษฐ์ เครื่องวัดตาแหน่ งของดวงดาวและ เครื่องวัดแผ่นดินไหวเครื่องแรกของโลก รำชวงศ์สยุ เป็นยุคแตกแยกแบ่งเป็นสามก๊ก มีการขุดคลองเชือ่ มแม่น้าฮวงโหกับแม่น้าแยง ซี เพือ่ ประโยชน์ในด้านการคมนาคม สะพานเจ้ าโจวหรือสะพานหินอันจี้ ได้ชื่อว่าเป็ นสะพานโบราณที่หนึง่ แห่ งแผ่นดิน ใช้ เทคนิควิศวกรรมก่อสร้ างสะพานหินโค้งที่ลา้ หน้ า กล่าวกันว่าเป็ นผลงานของหลู่ ปัน ช่ างฝี มือเอกแห่ งยุคในด้านการคมนาคม รำชวงศ์ถงั ( Tang Dynasty , ค.ศ. 618-907 ) ได้ชอ่ื ว่าเป็นยุคทองของอารยธรรมจีน นครฉางอานเป็นศูนย์กลางของซีกโลกตะวันออกในสมัยนัน้ พระพุทธศาสนามีความเจริญรุง่ เรือง พระภิกษุ (ถังซำจั ๋ง) เดินทางไป ศึกษาพระไตรปิฎก ในชมพูทวีป เป็นยุคทองของกวีนิพนธ์จนี กวีคนสาคัญ เช่น หวางเหว่ย หลีไ่ ป๋ ตูฝ้ ้ ู ศิลปะแขนงต่างๆมีความรุง่ เรือง จักรพรรดิถงั ไท่จง “กษัตริยเ์ ปรียบเสมือนเรือ ส่วนประชาชนคือน้ า น้ าสามารถหนุ นส่งเรือให้ลอย และสามารถจมเรือได้เช่นกัน” ทราบว่า การรีดเลือดกับปู ถ้าราษฎรอยูไ่ ม่ได้ ผูป้ กครอง ก็ไม่อาจดารงอยูเ่ ช่นกัน ทรงดาเนินนโยบายทีเ่ ปิ ดกว้าง ผ่อนปรนการเรียกเก็บภาษี มีระบบการจัดเก็บ ภาษีใหม่ โดยรวมภาษีทด่ี นิ ภาษีบุคคล และภาษีครอบครัวเข้าด้วยกัน เรียกว่า ภาษีคู่ ให้เสียภาษีปีละ 2 ครัง้ เร่งพัฒนากาลังการผลิต จัดสรรทีด่ นิ ทากินให้กบั ราษฎรได้ กลับคืนสูไ่ ร่นาและดาเนินวิถชี วี ติ ตามปกติ มีการติดต่อสัมพันธ์กบั ประเทศอินเดีย ยุโรป เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ ตะวันออกกลาง โดยมีนครฉางอันเป็ นศูนย์กลาง การค้าขายกว้างขวางขยายลงสูท่ างใต้ โดยเส้นทางทางทะเลเรียก เส้นทางสายไหมทะเล สินค้า เช่น แพรไหม เครือ่ งเคลือบ ถ้วยชาม เป็ นต้น สถำปัตยกรรมสมัยรำชวงศ์ถงั ลักษณะพิเศษของสถาปตั ยกรรมสมัยราชวงศ์ถงั คือมีขนาดใหญ่โต ระบบระเบียบ ใช้สไี ม่คอ่ ยมากแต่ลาย ชัดเจนดี จิตรกรรมสมัยรำชวงศ์ถงั มีการพัฒนาการใช้พกู่ นั สีและกระดาษภาพ ส่วนใหญ่ได้รบั อิทธิพลจากพุทธศาสนาและลัทธิเต๋า ประติมำกรรมสมัยรำชวงศ์ถงั มีการพัฒนาเครื่องเคลือบดินเผาเป็ น เคลือบ 3 สีคอื เหลือง น้ าเงิน เขียว พระพุทธรูปนิยม สร้างในสมัยราชวงศ์ถงั ทัง้ งานหล่อสาริดและ แกะสลักจากหิน ซึง่ มีสดั ส่วนงดงาม เป็ นการ ผสมผสานระหว่างศิลปะอินเดียและจีนทีม่ ลี กั ษณะ ั้ ป เป็ นมนุ ษย์มากกว่าเทพเจ้า นอกจากนี้มกี ารปนรู พระโพธิสตั ว์กวนอิม เจดียห์ ่ำนใหญ่ ได้มกี ารปฏิรปู โครงสร้างการปกครอง ทีเ่ น้นการรวมศูนย์อานาจ เข้าสูส่ ว่ นกลาง เพือ่ ป้องกันการก่อหวอดของผูม้ กี าลังทหารอยูใ่ นมือดังที่ ผ่านมา ข้าราชการท้องถิน่ ไม่มสี ทิ ธิเคลือ่ นพล ในภาวะสงคราม ส่วนกลางจะเป็นผูส้ งระดมพลจากที ั่ ต่ ่างๆ จากนัน้ จัดส่งนายทัพไป บัญชาการรบ ภายหลังเสร็จศึก ทหารกลับสูก่ รมกอง แม่ทพั กลับคืนสู่ ราชสานัก ถูกนามาใช้จนถึงการสิน้ สุดของราชวงศ์ชงิ ในปี ค.ศ. 1911 พระพุทธศาสนาในสมัยราชวงศ์ถงั ได้ชอ่ื ว่าเป็นยุคทองของ พระพุทธศาสนาในประเทศจีน ประชาชนเกิดความเลือ่ มใสศรัทธาอย่าง ั แรงกล้า ชนชัน้ ปญญาชนได้ ชว่ ยกันสนับสนุนเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาในสมัยราชวงศ์ถงั มีพระภิกษุชาวจีนทีโ่ ด่งดังท่านหนึ่ง ชือ่ ว่า เฮีย่ งจัง หรือเรารูจ้ กั กันในนาม "พระถังซาจั ๋ง” การล่มสลายของราชวงศ์ แอ จักรพรรดิถงั สวนจง ซึ่งในสมัยของพระองค์กวีรุ่ งเรื่ องมาก นับว่าใน สมัยของพระองค์ยงั เป็ นยุครุ่ งเรื อง ปลายสมัยของพระองค์ ทรงลุ่มหลงหยางกุย้ เฟย ไม่สนใจในราชกิจ บ้านเมืองทาให้เกิดความเสื่ อมลง และในระหว่างนั้นได้เกิดฮ่องเต้หญิงคนแรกของประเทศจีน ซึ่งก็คือ พระนางบูเช็กเทียน อานลู่ซานแม่ ทัพชายแดนจึงก่อการปฏิวตั ิและยึดเมือง หลวงฉางอานเป็ นผลสาเร็จ ทาให้ราชวงศ์ถงั เริ่ มเสื่ อมตั้งแต่บดั นั้นราชวงศ์ถงั มีระยะเวลาอยูช่ ่วงราวๆ พ.ศ. 1161-1450 (ค.ศ. 618-907) รำชวงศ์ซ้อง หรือซ่ง มีความก้าวหน้าด้านการเดินเรือสาเภา รูจ้ กั การใช้เข็มทิศ รูจ้ กั การใช้ลูกคิด ประดิษฐ์แท่นพิมพ์หนังสือ รักษาโรคด้วยการฝงั เข็ม รำชวงศ์หยวน เป็ นราชวงศ์ชาวมองโกลทีเ่ ข้ามาปกครองจีน ฮ่องเต้องค์แรกคือ กุบไลข่ำน หรือ หงวนสีโจ๊วฮ่องเต้ นับว่าเป็ นยุคสมัยหนึ่งทีม่ กี ารนองเลือดมากทีส่ ุดใน ประวัตศิ าสตร์จนี - มีสถาปนาอานาจปกครองแผ่นดินจีนตามอย่างประเพณีและ วัฒนธรรมทีจ่ นี ยึดถือกันมาแต่โบราณ - ในช่วงเวลานี้มบ ี นั ทึกของชาวตะวันตก กล่าวถึงการเดินทางเข้ามา ค้าขายกับจีนมากมาย เช่น เครื่องเคลือบและหัตถกรรมต่างๆ หรือการ เดินทางของนักเดินทางชาวอิตาลี “มาร์โค โปโล” ผูซ้ ง่ึ นาเรื่องราว แผ่นดินจีนกลับไปเผยแพร่จนทัวโลกรู ่ จ้ กั ทาให้มผี คู้ นจากทุกทิศพยายามเดินทางเปิ ด เส้นทางการค้าและเผยแพร่วฒ ั นธรรมด้วย มากมาย จึงเป็ นหนทางหนึ่งทาให้แผ่นดิน จีนได้รบั การพัฒนาความรูแ้ ละวิทยาการ อย่างต่อเนื่องและยังมีการเปิ ดกว้างทางการ ติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติมากทีส่ ุด ยุค หนึ่ง - กุบไลข่ำน พยายามกลมกลืนเอาวัฒนธรรมจีนมาประยุกต์กบ ั วัฒนธรรมมองโกล นอกจากนี้ยงั พยายามศึกษาศิลปะและวรรณกรรมของชาวจีนเพือ่ ให้มคี วามเป็ นคนจีน ในสายตาของชาวจีน ด้วยเหตุน้ึจงึ ทาให้ชาวจีนยอมรับความเป็ นฮ่องเต้ของพระองค์ โดยไม่คดิ ต่อต้าน ศาสนา รำชวงศ์ที่เจ้ำแม่กวนอิมประสูติจตุ ิ เป็ นองค์ หญิงเมี่ยวซ่ำน ในรัชสมัยพระเจ้ำเมี่ยวจง รำชวงศ์หมิงหรือเหม็ง เป็ นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) เป็ นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนหรื อพวกมองโกล และ พ่ายแพ้ให้กบั ราชวงศ์ชิงของพวกแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็ นราชวงศ์ที่รุ่งเรื องในด้านวัฒนธรรมเป็ นอย่างมาก ในยุคนี้มีการ สารวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็ นอาณาจักรที่กา้ วหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น วรรณกรรม นิยมการเขียนนวนิยายทีใ่ ช้ภาษาพูดมากกว่าการใช้ภาษาเขียน มีนวนิยายทีส่ าคัญ ได้แก่ สำมก๊ก ไซอิ๋ว ส่งเสริมการสารวจเส้นทางเดินเรือทางทะเล สร้างพระราชวังหลวงปกั กิง่ (วังต้องห้าม) พระรำชวังหลวงปักกิ่ง (วังต้องห้ำม) - กำรต่อเรือ - เครื่องมือดูดำว - แท่นฝนหมึก - นำฬิกำแดด รำชวงศ์ชิงหรือเช็ง (ค.ศ.1644 – 1912) เป็นราชวงศ์เผ่าแมนจู ราชวงศ์ชงิ ถือว่าเป็นราชวงศ์ทย่ี งิ่ ใหญ่ ทีส่ ดุ ราชวงศ์หนึ่งของจีนซึง่ สามารถปกครองจีนได้อย่าง ยาวนาน เป็นยุคทีจ่ นี เสือ่ มถอยความเจริญทุกด้าน เริม่ ถูกรุกรานจาก ชาติตะวันตก เช่น สงครามฝิ่น ซึง่ จีนรบแพ้องั กฤษ ทาให้ตอ้ ง ลงนามในสนธิสญ ั ญานานกิง ปลายยุคราชวงศ์ชงิ พระนางซูสไี ทเฮาเข้ามามีอทิ ธิพลในการบริหารประเทศมาก การปกครอง กษัตริยท์ กุ พระองค์ปกครองในระบอบอัตตาธิปไตย คือบริหารงาน ทุกอย่างด้วยพระองค์เองทัง้ นโยบายภายในและภายนอกประเทศ ด้ำนสังคม ใช้มาตรการกีดกันชาวจีนออกไปจากสังคมแมนจูเพือ่ ไม่ให้เกิดการกลืน ชาติเช่น - บังคับให้ชาวจีนโกนผมด้านหน้าออก และไว้ผมเปี ย - ให้ชาวจีนแต่งกายแบบชาวแมนจู - ไม่ให้มก ี ารแต่งงานระหว่างชาวจีนและชาวแมนจู - ชาวจีนทีจ่ ะเข้ารับราชการต้องผ่านการสอบคัดเลือก แต่ชาวแมนจูไม่ตอ้ งสอบบังคับให้ชาวจีนใช้ภาษาแมน จูเป็นภาษาราชการ ศิลปะ เครือ่ งลายคราม เช่น เครือ่ งถ้วยเปลือกไข่ ได้รบั ความนิยมอย่างสูง ในตลาดยุโรป โดยเฉพาะทีท่ าขึน้ ในมณฑลกวางสี เพราะมีคณ ุ ภาพ สีสนั สวยงามทีเ่ ขียนลงเครือ่ งถ้วยลายคราม การล่มสลายของราชวงศ์ ราชวงศ์ชิงได้สร้างความเจริ ญให้กบั จีนมากมาย และพัฒนาการปกครองชาว จีนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ แต่เนื่องจากความทะนงตนว่าเหนือกว่าทุกชาติ ในโลก จึงเป็ นสาเหตุของความเสื่ อมของราชวงศ์ในปี ค.ศ.1912