Wasan Paunpunwong
Asst. Prof. Wasan Pounpunwong
Affiliation: Faculty of Social Sciences and Local Development, Pibulsongkram Rajabhat University
Email: wasan.po@psru.ac.th
Eduation
1.M.A (Politics and Government) Chiang Mai University
2.MPA.(Management Science Department of Public Administration) Sukhothai Thammathirat Open University
3.B.A. (Thai Studies) Chiang Mai University
4.B.A. (International Relations) Sukhothai Thammathirat Open University
5.B.A. (Public Administration) Ramkhamhaeng University
6.B.A. (Political Science Theory and Techniques)Sukhothai Thammathirat Open University
Phone: +66964918155
Address: 156 M. 5 Bypass Mueang Phitsanulok Rd, Phlai Chumphon, Mueang Phitsanulok District, Phitsanulok 65000
Affiliation: Faculty of Social Sciences and Local Development, Pibulsongkram Rajabhat University
Email: wasan.po@psru.ac.th
Eduation
1.M.A (Politics and Government) Chiang Mai University
2.MPA.(Management Science Department of Public Administration) Sukhothai Thammathirat Open University
3.B.A. (Thai Studies) Chiang Mai University
4.B.A. (International Relations) Sukhothai Thammathirat Open University
5.B.A. (Public Administration) Ramkhamhaeng University
6.B.A. (Political Science Theory and Techniques)Sukhothai Thammathirat Open University
Phone: +66964918155
Address: 156 M. 5 Bypass Mueang Phitsanulok Rd, Phlai Chumphon, Mueang Phitsanulok District, Phitsanulok 65000
less
InterestsView All (16)
Uploads
Papers by Wasan Paunpunwong
ข้อจำกัดของการวิจัยในครั้งนี้ คือ โครงการวิจัยนี้เป็นเพียงการศึกษาเกี่ยวกับ สถานการณ์ การมีส่วนร่วมของภาครัฐ สังคม ชุมชนรวมถึงมาตรการและการแก้ไข้ปัญหายาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างซึ่งเป็นการนำเสนอประเด็นในภาพรวมในระดับภาคเท่านั้น ซึ่งไม่สามารถนำไปอธิบายสถานการณ์เกี่ยวกับยาเสพติดในเยาวชนในสังคมไทยได้ทั้งหมดหรือบ่งชี้ความเหมือนหรือแตกต่างของการปฏิบัติการของ ภาครัฐ สังคม ชุมชนในประเด็นเรื่องยาเสพติดกับเยาวชนของแต่ละจังหวัดในภาคเหนือตอนล่างได้ละเอียดเป็นกรณีแต่ละจังหวัด
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย คือ 1) ควรมีการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดทั้งทางทฤษฎีและการดำเนินงาน ในส่วนของข้อกฎหมายต่างๆ ให้แก่ เยาวชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง 2) ควรศึกษาประเด็นอื่นๆ เช่น พฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดเชิงเปรียบเทียบกับสถาบันอื่นๆ เนื่องจากแต่ละพื้นที่ แต่ละสถาบันการศึกษามีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน สภาพปัญหาจึงแตกต่างกันซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการกำหนดนโยบายการดำเนินการป้องกันยาเสพติดในเยาวชนต่อไป และ 3) ควรส่งเสริมการบทบาทการมี ส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมการแก้ไขปัญหายาเสพติดระหว่างหน่วยงานราชการที่เป็นตัวแทนภาครัฐ และภาคประชาสังคม โดยใช้แนวทางการบูรณาการเพื่อให้เกิดการช่วยเหลือและสนับสนุนซึ่งกันและกัน และพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันปัญหายาเสพติดในชุมชนอื่นๆ ในส่วนกลางหรือชุมชนอื่นๆในส่วนภูมิภาคเพราะมิติต่างๆของแต่ละชุมชนและพื้นที่อาจไม่เหมือนกัน
คำสำคัญ : ปัญหายาเสพติด, เยาวชน, เทศบาลเมือง, ภาคเหนือตอนล่าง
ผลการวิจัย พบว่า (1) บริบทของพื้นที่มีปัญหาเรื่องยาเสพติดปรากฏออกมาในลักษณะของเส้นทางการขนส่งจากพื้นที่ชายแดนเข้าสู่เมืองซึ่งพื้นที่อำเภอแม่สอดถือได้ว่าเป็นพื้นที่เฝ้าระวังในการตรวจสอบและจับกุม (2) ปัจจุบันภายนอกสถานศึกษาอาจจะพบเห็นเยาวชนในพื้นที่มีการเข้าถึงกัญชาและพืชกระท่อมมากขึ้น สำหรับในสถานศึกษาพบค่านิยมในการใช้บุหรี่ไฟฟ้า แต่ไม่มีการพบยาเสพติดจำพวกยาบ้า และ (3) สถานศึกษาได้ดำเนินงานด้านการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดแก่เยาวชนผ่านกิจกรรมและโครงการของสถานศึกษา ข้อเสนอแนะในงานวิจัย คือ การดูแลและการเฝ้าระวังเยาวชนในประเด็นเกี่ยวกับยาเสพติดจะต้องมีความทันสมัยทั้งด้านโยบายและมาตรการที่สอดรับกับพฤติกรรมของเยาวชนและมีบูรณาการในการแก้ไขปัญหาโดยมีทิศทางไปในทางเดียวกันบนฐานของการมีส่วนร่วมของภาครัฐและชุมชน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาดังกล่าวศึกษาภายใต้บริบทของความสัมพันธ์ของอำนาจทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่มีผลต่อการกำหนดนโยบายของรัฐโดยเฉพาะนโยบายด้านเศรษฐกิจ โดยผลการวิจัยพบว่า สภาพทางสังคมของเกษตรกร จังหวัดเมียวดี สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ในช่วงก่อนและหลังการทำเกษตรแบบพันธะสัญญาตามยุทธศาสตร์ ACMECS มีลักษณะแตกต่างไปจากเดิม คือ ก่อนการเข้ามาของโครงการเกษตรแบบพันธะสัญญาตามยุทธศาสตร์ ACMECS จะมีลักษณะเป็นสังคมเกษตรกรรมที่มีการผลิตที่ยังไม่เข้มข้น การทำเกษตรกรรมส่วนใหญ่อาศัยแรงงานภายในครอบครัวเป็นหลัก ทั้งนี้ยังไม่ปรากฏว่ามีการนำเข้าเทคโนโลยีและปัจจัยการผลิต ลักษณะของการทำเกษตรกรรมภายในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นการทำพืชไร่ในรูปแบบเกษตรแบบพันธะสัญญาจากพ่อค้าหรือผู้ประกอบการทางฝั่งไทย ซึ่งลักษณะของการทำเกษตรแบบพันธะสัญญาในหมู่บ้านได้เริ่มมีมาก่อนการเข้ามาของโครงการเกษตรแบบพันธะสัญญาตามยุทธศาสตร์ ACMECS แต่ไม่ได้มีจำนวนของการลงทุนมากมาย ระบบการทำเกษตรในรูปแบบของพันธะสัญญายังอาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัวของเกษตรกรและผู้ประกอบการหรือพ่อเลี้ยงเป็นสำคัญ ต่อมาภายหลังการเข้ามาของโครงการการทำเกษตรแบบพันธะสัญญาตามยุทธศาสตร์ ACMECS ลักษณะของการทำเกษตรแบบพันธะสัญญามีความแตกต่างไปจากเดิม เช่น มีการลงทุนสูง มีการนำเข้าเทคโนโลยีและสารเคมีในการผลิต จำนวนผู้ประกอบการและพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น จากการขยายตัวธุรกิจการทำเกษตรแบบพันธะสัญญาดังกล่าวทำให้สภาพทางด้านสังคมของเกษตรกรในพื้นที่ได้เปลี่ยนแปลงไป อาทิ ลักษณะครอบครัว แบบแผนการดำเนินชีวิต ระบบค่านิยมความเชื่อ ลักษณะอาชีพ วิถีการผลิต และวิถีการบริโภค
นอกจากความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นในสังคมของเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบพันธะสัญญาตามยุทธศาสตร์ ACMECS แล้ว การเข้ามาของโครงการเกษตรแบบพันธะสัญญานี้ยังได้ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งในด้านบวกและด้านลบต่อเกษตรกรและคนในพื้นที่ ผลในด้านบวกได้แก่ ก่อให้เกิดการสร้างอาชีพก่อให้เกิดการกระจายรายได้ ทำให้ระบบความสัมพันธ์ภายในครอบครัวของเกษตรกรดีขึ้น ก่อให้เกิดการแพร่ขยายของการรับรู้องค์ความรู้เรื่องการเพาะปลูกเกิดระบบอุปถัมภ์ในสังคมเกษตรกรอย่างเข้มข้นและก่อให้เกิดการพัฒนาถนนหนทางในหมู่บ้าน ส่วนผลกระทบในด้านลบ ได้แก่ ก่อให้เกิดการลดลงของพื้นที่ป่าไม้และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน ก่อให้เกิดปัญหาเรื่องสุขภาพต่อเกษตรกรการเกิดภาระหนี้สิน การขูดรีดและความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกรและคนในชุมชนลดน้อยลง
คำสำคัญ: การเปลี่ยนแปลงทางสังคม, เกษตรแบบพันธะสัญญา, ยุทธศาสตร์ ACMECS
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย คือ ประเด็นที่หนึ่งควรแก้ไขชนิดของการพนันตามบัญชีการเล่นพนันแนบท้ายพระราชบัญญัติการพนัน พุทธศักราช 2478 ให้มีความทันสมัยโดยระบุบชื่อการพนันที่เป็นการพนันออนไลน์เข้าไปอย่างชัดเจน ประเด็นที่สอง ควรทำข้อตกลงในรูปแบบของ ธรรมนูญชุมชนว่าด้วยเรื่องการป้องกันการพนันและการพนันออนไลน์ขึ้นโดยเฉพาะโดยสาระสำคัญเพื่อเป็นหมุดหมายในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการพนันออนไลน์อย่างเป็นรูปธรรม และประเด็นที่สามต้องพัฒนาการปฏิบัติงาน ระบบคิด วิสัยทัศน์ แรงจูงใจ และวัฒนธรรมองค์กร ของหน่วยงานภาครัฐทั้งในส่วนของภูมิภาคและระดับท้องถิ่นในการดำเนินการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาเรื่องการพนันออนไลน์ในเยาวชนในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก เนื่องจากการทำงานยังคงมองปัญหาเป็นเรื่องยากเกินกว่าที่จะแก้ไข
คำสำคัญ: การพนัน, การพนันออนไลน์, เยาวชน, ปัญหาการพนัน, จังหวัดพิษณุโลก
ผลการศึกษาในงานวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ประเด็นคือ 1.การดำเนินการของเทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลก มีการกำหนดมาตรการทางกฎหมายและนโยบายโดยมุ่งส่งเสริมครอบครัวเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน โดยมีแนวคิดว่าการดูแลผู้สูงอายุต้องอาศัยความเข้าใจและความร่วมมือจากสมาชิกครอบครัวทุกคน ปัจจัยสำคัญที่จะดูแลผู้สูงอายุประสบความสำเร็จคือ ความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐ ชุมชน และครอบครัว 2. พื้นที่ของเทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลก ได้ให้ความสำคัญต่อแนวคิดอารยสถาปัตย์สำหรับสังคมสูงอายุ แต่ในการพัฒนานโยบายและใช้นโยบายในพื้นที่เป็นลักษณะของการบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ส่วนงานจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สาธารณะสุข ชุมชม และภาคประชาชน เป็นต้น ทั้งนี้จากความสำคัญของสุขภาพ ความเพียงพอ และความปลอดภัย แต่ตามหลักแนวคิดของอารยสถาปัตย์เทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลกจำเป็นต้องพัฒนานโยบายและกำลังคนให้สามารถรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคต และ3.ชุมชนในพื้นที่เทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลกมีความร่วมมือกับเทศบาลเมืองอรัญญิกเป็นอย่างดีผ่านการเข้าร่วมประชุมประจำเดือนและเสนอประเด็นปัญหาด้านสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยให้สอดคล้องกับการดำรงค์ชีวิตของผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย 1.ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ประโยชน์ คือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนควรนำแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาอารยาสถาปัตย์ไปใช้ในการดำเนินพัฒนาชุมชนเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ 2.ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป คือ ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับอารยสถาปัตย์สำหรับกลุ่มคนอื่น ๆ เช่น ผู้พิการ หรือกลุ่มเปาะบางอื่น ๆ
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย กล่าวคือ 1.ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช้ ได้แก่ 1).เนื่องจากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับ โครงการหลวงกับการพัฒนาสังคมและชุมชนเพื่อส่งเสริมการพึ่งพาตนเองของชนเผ่าตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ศึกษาพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย จังหวัดเชียงใหม่ ยังมีการศึกษาเพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับประเด็นการศึกษาด้านการพัฒนาและการอธิบายการจัดการในพื้นที่เชิงอำนาจและบทบาทของหน่วยงาน ซึ่งจะพบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยที่สะท้อนให้เห็นเพียงด้านของการดำเนินงานที่ไม่พบปัญหา อุปสรรค เป็นการศึกษาพื้นที่ในบริบทเดียวเท่านั้น ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้สามารถใช้ในการวิเคราะห์ข้อเท็จจริงบางประการเกี่ยวกับการพัฒนาในลักษณะดังกล่าวที่แตกต่างออกไป ซึ่งจะช่วยให้ได้แนวคิด หรือมโนทัศน์ที่กว้างขวางมากยิ่งขึ้น 2). สามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการกำหนดรูปแบบของแผนการดำเนินงาน การจัดการปัญหาในพื้นที่ตลอดจนทำให้ทราบความต้องการของคนในพื้นที่ว่ามีความต้องการที่จะปรับปรุง หรือแก้ไข้ปัญหาด้านใด นอกจากนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการวางแผนการสื่อสาร เกี่ยวกับการพึ่งพาตนเองตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์การดำเนินงานของหน่วยงาน 3). งานวิจัยนี้ สามารถเป็นแนวทางในการกำหนดกรอบการศึกษาวิจัยถึงอิทธิพลของปัจจัยกำหนด วิถีการดำเนินชีวิตของชนชาวเขา การกำหนดนโยบายที่หนุนเสริมวิถีการดำเนินชีวิตที่สร้างสรรค์อันจะนำมาซึ่งการส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่คนชนบทไทยอย่างตรงเป้าหมาย และเกิดการยกระดับ คุณภาพเศรษฐกิจของชุมชนชนบทที่สอดรับไปกับบริบทการพัฒนาประเทศไทย ในปัจจุบันต่อไป
สำหรับข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการวิจัยครั้งต่อไป คือ 1). การศึกษาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการนำแบบตัวแบบที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ไปทำการวิจัยซ้ำในพื้นที่โครงการหลวง หรือศูนย์พัฒนาเชิงพื้นที่อื่น ๆ ในบริบทของประเทศไทยหรือในประเทศอื่น ๆ เพื่อทำการตรวจสอบตัวแบบว่ามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ต่อไป 2). การศึกษาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุด้านอื่น ๆ ที่เป็นปัจจัยที่มีต่อผลการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงฯ 3). การศึกษาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการดำเนินงานเชิงพื้นที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การดำเนินงานของหน่วยงานภาคเอกชน เปรียบเทียบกับหน่วยงานภาครัฐ ตลอดจนการดำเนินการเชิงบูรณาการกับภาคีอื่น ๆ เป็นต้น
ผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ประเด็น คือ 1.ภายในและภายนอกสถานศึกษาในพื้นที่ชายแดนอำเภอแม่สอด จังวัดตากนักเรียนบางรายมีพฤติกรรมที่ส่อเสี่ยงต่อปัญหายาเสพติด เช่น บุหรี่ไฟฟ้า ยาเขียวเหลือง และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สาเหตุที่สำคัญของปัญหายาเสพติด คือ ครอบครัว เพื่อน ชุมชน มีอิทธิพลอย่างมากต่อเยาวชนที่เป็นนักเรียนในพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เข้าสู่การใช้สารเสพติด 2. โรงเรียนใช้แนวทางจากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดในแนวปฏิบัติแบบเดียวกันและสอดคล้องกัน นอกจากนี้ โรงเรียนมีหน้าที่ในการจัดโครงการกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะประเด็นปัญหาและโทษของยาเสพติดผ่านโครงการและกิจกรรมรวมถึงการส่งเสริมสอดแทรกความรู้เรื่องยาเสพติดในสาระวิชาที่สอน และ3.ตัวแบบมาตรการป้องกันและการแก้ไขปัญหาการใช้สารเสพติดของเยาวชนต่อสถานศึกษาในพื้นที่ชายแดน อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก คือ ควรเพิ่มจำนวนของทีมสหวิชาชีพและเพิ่มประสิทธิภาพของกฎหมายและแนวปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ส่งเสริมกระจายอำนาจให้ชุมชนส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย คือ ควรมีการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีความรู้และมีศักยภาพสอดรับต่อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดโดยเฉพาะปัญหายาเสพติดที่มาพร้อมกับการเข้าถึงข้อมูลทั้งการสั่งซื้อในรูปแบบออนไลน์โดยเฉพาะบุหรี่ไฟฟ้า นอกจากนี้ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่เกิดจากปัจจัยหลาย ๆ ปัจจัย ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ปัจจัยเหล่านี้ในทางปฏิบัติในการสร้างมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหาจำเป็นต้องเรียนรู้และเข้าใจบริบทของปัญหาซึ่งจะนำไปสู่ผลของการออกแบบวิธีการรับมือต่อสภาพปัญหาดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากข้อถกเถียงข้างต้นในส่วนของ พรรคอนาคตใหม่ที่เป็นพรรคการเมืองที่มีความเคลื่อนไหวและเป็นการขับเคลื่อนประเด็นเรื่องการแก้ไข รัฐธรรมนูญและมรดกทางการเมืองของอำนาจเผด็จการ โดยเฉพาะเลขาธิการพรรค คือ ปิยบุตร แสงกนกกุล ที่พยายามอธิบายปัญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้น นั้นเกิดจากโครงสร้างและสถาบันทางการเมืองที่เป็น รัฐธรรมนูญได้ถูกละเลยเรื่องการตีในความหมายว่าเป็นผลผลิตของสัญญะของการแตกหักกับระบอบเก่า ดังนั้น เส้นทางและนโยบายของพรรคอนาคตใหม่ที่ปรากฏจึงมุ่งทำให้สังคมและประชาชนตระหนักถึงอำนาจสถาปนา ในรัฐธรรมนูญว่าแท้จริงแล้วประชาชนคือเจ้าของอำนาจอธิปไตยนี้ผ่านเส้นทางของการพัฒนาประชาธิปไตยในรัฐไทย
ผลการวิจัยที่ผู้วิจัยได้นำเสนอในบทความฉบับนี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเด็น คือ 1.พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2.ความคิดเห็นเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ 3.การรับรู้มาตรการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลการวิจัยทั้ง 3 ประเด็น นำไปสู่การอธิบายให้เห็นภาพของสถานการณ์เกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในถนนนิมมานเหมินท์ จังหวัดเชียงใหม่
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย 1. การนำเสนอเรื่องเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จำเป็นต้องแก้ไขข้อกฎหมายให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และเป็นไปตามสภาพสังคม มิติทางเศรษฐกิจ และวิธีการรับข้อมูลข่าวสารของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป 2. รัฐต้องปรับทำนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เข้มแข็ง ควบคุมทั้ง อุตสาหกรรม ตลาดการค้าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้งผู้ผลิตรายใหญ่ รายย่อย และการควบคุมการดื่มให้เป็นการทั่วไปไม่มีการเลือกปฏิบัติจนนำไปสู่การเอื้อต่อกลุ่มทุนขนาดรายใหญ่หรือผู้มีอิทธิพล
2)การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ได้แก่ 1. เจ้าหน้าที่และพนักงานของรัฐระดับจังหวัด และ 2.เจ้าหน้าที่และพนักงานของรัฐระดับท้องถิ่น ผลการวิจัย คือ (1) จังหวัดพิษณุโลกยังไม่มียุทธศาสตร์และนโยบาย หรือมาตรการที่เป็นกรณีเฉพาะต่อปัญหาเรื่องการพนันออนไลน์ และยังไม่มีแผนหรือนโยบายที่มีการแก้ไขปัญหาเยาวชนกับการพนันออนไลน์อย่างเป็นรูปธรรม 2) จังหวัดพิษณุโลกให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของสถาบันการศึกษา สถานบันศาสนา ชุมชน และสถาบันครอบครัว ในการเป็นกลไกการทำงานในเรื่องของการแก้ไขปัญหาในเรื่องการพนันออนไลน์กับเยาวชนทั้งในเชิงรุกและรับโดยจะเห็นจากให้ความสำคัญในเรื่องการบูรณาการการลงพื้นที่เพื่อประเมินความเสี่ยง การแจ้งเบาะแส การดำเนินคดี การจับกุม (3 ) ควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้มีความทันสมัยโดยครอบคลุมกับการพนันออนไลน์ ข้อเสนอแนะ คือ ต้องพัฒนาการปฏิบัติงาน ระบบคิด วิสัยทัศน์ แรงจูงใจ และวัฒนธรรมองค์กร ของหน่วยงานภาครัฐในการดำเนินการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาเรื่องการพนันออนไลน์ในเยาวชนในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก
ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างให้มีความเข้มแข็งและมีการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพได้ 2. ข้อมูลวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นฐานข้อมูลในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดทั้งทางทฤษฎีและการดำเนินงานให้แก่เยาวชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
management to Phitsanulok Municipality and other local administrative organizations. The samples in this qualitative research consisted of three groups of informants including government agencies, representatives of the public sector, and academics in local government. The research instrument was an interview form. The results are reported as follows. 1) Phitsanulok Municipality’s guideline and the executive’s vision are aligned with the changing situation under this outbreak that leads to flexibility and efficiency in service provision. 2) The public sector is cooperative in following the measures and the adaptation approach of Phitsanulok Municipality in dealing with the outbreak, and 3) Phitsanulok Municipality and other local government organizations should have a plan that enhances workers to adjust to the new normal mode of working. The COVID-19 pandemic reflects the bureaucratic nature of centralized power which causes delays in problem solving and budget constraints. Suggestion from the research is that there should be a further study on the issue of changes in the change management of local
administrative organizations under the outbreak of COVID-19 in social and economic dimensions under the concept of Covidization.
study on the urban development of rural areas in Doi Mon Cham 2) study the effects from the urban development in Doi Mon Cham in terms of political, economic, social and environmental analysis. The qualitative research using in-depth interview and non-participant observation was done. Moreover, the additional data was also collected during the field work. The study found that there are pros and cons according to the urban
development. In Nong Hoi community, the development caused a good
cooperation between state agencies and the community. Also, it creates the better facilities which attract and facilitate the tourists. To clarify this, the economic change was happened because the local agricultures focus on tourists’ services and business rather than the agriculture nowadays. Next, the local authorities are the key people who transfer knowledge concerning the infrastructure development to the locals. Thirdly, the life style of the villagers living in Doi Mon Cham has been changed since they use more and more technology in order to serve the tourism business and attract more tourists. Lastly, the fourth outcome that found in this research was the increasing of air pollution and waste problem due to the increasing number of tourists.
ข้อจำกัดของการวิจัยในครั้งนี้ คือ โครงการวิจัยนี้เป็นเพียงการศึกษาเกี่ยวกับ สถานการณ์ การมีส่วนร่วมของภาครัฐ สังคม ชุมชนรวมถึงมาตรการและการแก้ไข้ปัญหายาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างซึ่งเป็นการนำเสนอประเด็นในภาพรวมในระดับภาคเท่านั้น ซึ่งไม่สามารถนำไปอธิบายสถานการณ์เกี่ยวกับยาเสพติดในเยาวชนในสังคมไทยได้ทั้งหมดหรือบ่งชี้ความเหมือนหรือแตกต่างของการปฏิบัติการของ ภาครัฐ สังคม ชุมชนในประเด็นเรื่องยาเสพติดกับเยาวชนของแต่ละจังหวัดในภาคเหนือตอนล่างได้ละเอียดเป็นกรณีแต่ละจังหวัด
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย คือ 1) ควรมีการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดทั้งทางทฤษฎีและการดำเนินงาน ในส่วนของข้อกฎหมายต่างๆ ให้แก่ เยาวชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง 2) ควรศึกษาประเด็นอื่นๆ เช่น พฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดเชิงเปรียบเทียบกับสถาบันอื่นๆ เนื่องจากแต่ละพื้นที่ แต่ละสถาบันการศึกษามีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน สภาพปัญหาจึงแตกต่างกันซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการกำหนดนโยบายการดำเนินการป้องกันยาเสพติดในเยาวชนต่อไป และ 3) ควรส่งเสริมการบทบาทการมี ส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมการแก้ไขปัญหายาเสพติดระหว่างหน่วยงานราชการที่เป็นตัวแทนภาครัฐ และภาคประชาสังคม โดยใช้แนวทางการบูรณาการเพื่อให้เกิดการช่วยเหลือและสนับสนุนซึ่งกันและกัน และพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันปัญหายาเสพติดในชุมชนอื่นๆ ในส่วนกลางหรือชุมชนอื่นๆในส่วนภูมิภาคเพราะมิติต่างๆของแต่ละชุมชนและพื้นที่อาจไม่เหมือนกัน
คำสำคัญ : ปัญหายาเสพติด, เยาวชน, เทศบาลเมือง, ภาคเหนือตอนล่าง
ผลการวิจัย พบว่า (1) บริบทของพื้นที่มีปัญหาเรื่องยาเสพติดปรากฏออกมาในลักษณะของเส้นทางการขนส่งจากพื้นที่ชายแดนเข้าสู่เมืองซึ่งพื้นที่อำเภอแม่สอดถือได้ว่าเป็นพื้นที่เฝ้าระวังในการตรวจสอบและจับกุม (2) ปัจจุบันภายนอกสถานศึกษาอาจจะพบเห็นเยาวชนในพื้นที่มีการเข้าถึงกัญชาและพืชกระท่อมมากขึ้น สำหรับในสถานศึกษาพบค่านิยมในการใช้บุหรี่ไฟฟ้า แต่ไม่มีการพบยาเสพติดจำพวกยาบ้า และ (3) สถานศึกษาได้ดำเนินงานด้านการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดแก่เยาวชนผ่านกิจกรรมและโครงการของสถานศึกษา ข้อเสนอแนะในงานวิจัย คือ การดูแลและการเฝ้าระวังเยาวชนในประเด็นเกี่ยวกับยาเสพติดจะต้องมีความทันสมัยทั้งด้านโยบายและมาตรการที่สอดรับกับพฤติกรรมของเยาวชนและมีบูรณาการในการแก้ไขปัญหาโดยมีทิศทางไปในทางเดียวกันบนฐานของการมีส่วนร่วมของภาครัฐและชุมชน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาดังกล่าวศึกษาภายใต้บริบทของความสัมพันธ์ของอำนาจทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่มีผลต่อการกำหนดนโยบายของรัฐโดยเฉพาะนโยบายด้านเศรษฐกิจ โดยผลการวิจัยพบว่า สภาพทางสังคมของเกษตรกร จังหวัดเมียวดี สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ในช่วงก่อนและหลังการทำเกษตรแบบพันธะสัญญาตามยุทธศาสตร์ ACMECS มีลักษณะแตกต่างไปจากเดิม คือ ก่อนการเข้ามาของโครงการเกษตรแบบพันธะสัญญาตามยุทธศาสตร์ ACMECS จะมีลักษณะเป็นสังคมเกษตรกรรมที่มีการผลิตที่ยังไม่เข้มข้น การทำเกษตรกรรมส่วนใหญ่อาศัยแรงงานภายในครอบครัวเป็นหลัก ทั้งนี้ยังไม่ปรากฏว่ามีการนำเข้าเทคโนโลยีและปัจจัยการผลิต ลักษณะของการทำเกษตรกรรมภายในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นการทำพืชไร่ในรูปแบบเกษตรแบบพันธะสัญญาจากพ่อค้าหรือผู้ประกอบการทางฝั่งไทย ซึ่งลักษณะของการทำเกษตรแบบพันธะสัญญาในหมู่บ้านได้เริ่มมีมาก่อนการเข้ามาของโครงการเกษตรแบบพันธะสัญญาตามยุทธศาสตร์ ACMECS แต่ไม่ได้มีจำนวนของการลงทุนมากมาย ระบบการทำเกษตรในรูปแบบของพันธะสัญญายังอาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัวของเกษตรกรและผู้ประกอบการหรือพ่อเลี้ยงเป็นสำคัญ ต่อมาภายหลังการเข้ามาของโครงการการทำเกษตรแบบพันธะสัญญาตามยุทธศาสตร์ ACMECS ลักษณะของการทำเกษตรแบบพันธะสัญญามีความแตกต่างไปจากเดิม เช่น มีการลงทุนสูง มีการนำเข้าเทคโนโลยีและสารเคมีในการผลิต จำนวนผู้ประกอบการและพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น จากการขยายตัวธุรกิจการทำเกษตรแบบพันธะสัญญาดังกล่าวทำให้สภาพทางด้านสังคมของเกษตรกรในพื้นที่ได้เปลี่ยนแปลงไป อาทิ ลักษณะครอบครัว แบบแผนการดำเนินชีวิต ระบบค่านิยมความเชื่อ ลักษณะอาชีพ วิถีการผลิต และวิถีการบริโภค
นอกจากความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นในสังคมของเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบพันธะสัญญาตามยุทธศาสตร์ ACMECS แล้ว การเข้ามาของโครงการเกษตรแบบพันธะสัญญานี้ยังได้ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งในด้านบวกและด้านลบต่อเกษตรกรและคนในพื้นที่ ผลในด้านบวกได้แก่ ก่อให้เกิดการสร้างอาชีพก่อให้เกิดการกระจายรายได้ ทำให้ระบบความสัมพันธ์ภายในครอบครัวของเกษตรกรดีขึ้น ก่อให้เกิดการแพร่ขยายของการรับรู้องค์ความรู้เรื่องการเพาะปลูกเกิดระบบอุปถัมภ์ในสังคมเกษตรกรอย่างเข้มข้นและก่อให้เกิดการพัฒนาถนนหนทางในหมู่บ้าน ส่วนผลกระทบในด้านลบ ได้แก่ ก่อให้เกิดการลดลงของพื้นที่ป่าไม้และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน ก่อให้เกิดปัญหาเรื่องสุขภาพต่อเกษตรกรการเกิดภาระหนี้สิน การขูดรีดและความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกรและคนในชุมชนลดน้อยลง
คำสำคัญ: การเปลี่ยนแปลงทางสังคม, เกษตรแบบพันธะสัญญา, ยุทธศาสตร์ ACMECS
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย คือ ประเด็นที่หนึ่งควรแก้ไขชนิดของการพนันตามบัญชีการเล่นพนันแนบท้ายพระราชบัญญัติการพนัน พุทธศักราช 2478 ให้มีความทันสมัยโดยระบุบชื่อการพนันที่เป็นการพนันออนไลน์เข้าไปอย่างชัดเจน ประเด็นที่สอง ควรทำข้อตกลงในรูปแบบของ ธรรมนูญชุมชนว่าด้วยเรื่องการป้องกันการพนันและการพนันออนไลน์ขึ้นโดยเฉพาะโดยสาระสำคัญเพื่อเป็นหมุดหมายในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการพนันออนไลน์อย่างเป็นรูปธรรม และประเด็นที่สามต้องพัฒนาการปฏิบัติงาน ระบบคิด วิสัยทัศน์ แรงจูงใจ และวัฒนธรรมองค์กร ของหน่วยงานภาครัฐทั้งในส่วนของภูมิภาคและระดับท้องถิ่นในการดำเนินการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาเรื่องการพนันออนไลน์ในเยาวชนในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก เนื่องจากการทำงานยังคงมองปัญหาเป็นเรื่องยากเกินกว่าที่จะแก้ไข
คำสำคัญ: การพนัน, การพนันออนไลน์, เยาวชน, ปัญหาการพนัน, จังหวัดพิษณุโลก
ผลการศึกษาในงานวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ประเด็นคือ 1.การดำเนินการของเทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลก มีการกำหนดมาตรการทางกฎหมายและนโยบายโดยมุ่งส่งเสริมครอบครัวเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน โดยมีแนวคิดว่าการดูแลผู้สูงอายุต้องอาศัยความเข้าใจและความร่วมมือจากสมาชิกครอบครัวทุกคน ปัจจัยสำคัญที่จะดูแลผู้สูงอายุประสบความสำเร็จคือ ความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐ ชุมชน และครอบครัว 2. พื้นที่ของเทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลก ได้ให้ความสำคัญต่อแนวคิดอารยสถาปัตย์สำหรับสังคมสูงอายุ แต่ในการพัฒนานโยบายและใช้นโยบายในพื้นที่เป็นลักษณะของการบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ส่วนงานจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สาธารณะสุข ชุมชม และภาคประชาชน เป็นต้น ทั้งนี้จากความสำคัญของสุขภาพ ความเพียงพอ และความปลอดภัย แต่ตามหลักแนวคิดของอารยสถาปัตย์เทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลกจำเป็นต้องพัฒนานโยบายและกำลังคนให้สามารถรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคต และ3.ชุมชนในพื้นที่เทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลกมีความร่วมมือกับเทศบาลเมืองอรัญญิกเป็นอย่างดีผ่านการเข้าร่วมประชุมประจำเดือนและเสนอประเด็นปัญหาด้านสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยให้สอดคล้องกับการดำรงค์ชีวิตของผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย 1.ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ประโยชน์ คือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนควรนำแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาอารยาสถาปัตย์ไปใช้ในการดำเนินพัฒนาชุมชนเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ 2.ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป คือ ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับอารยสถาปัตย์สำหรับกลุ่มคนอื่น ๆ เช่น ผู้พิการ หรือกลุ่มเปาะบางอื่น ๆ
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย กล่าวคือ 1.ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช้ ได้แก่ 1).เนื่องจากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับ โครงการหลวงกับการพัฒนาสังคมและชุมชนเพื่อส่งเสริมการพึ่งพาตนเองของชนเผ่าตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ศึกษาพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย จังหวัดเชียงใหม่ ยังมีการศึกษาเพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับประเด็นการศึกษาด้านการพัฒนาและการอธิบายการจัดการในพื้นที่เชิงอำนาจและบทบาทของหน่วยงาน ซึ่งจะพบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยที่สะท้อนให้เห็นเพียงด้านของการดำเนินงานที่ไม่พบปัญหา อุปสรรค เป็นการศึกษาพื้นที่ในบริบทเดียวเท่านั้น ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้สามารถใช้ในการวิเคราะห์ข้อเท็จจริงบางประการเกี่ยวกับการพัฒนาในลักษณะดังกล่าวที่แตกต่างออกไป ซึ่งจะช่วยให้ได้แนวคิด หรือมโนทัศน์ที่กว้างขวางมากยิ่งขึ้น 2). สามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการกำหนดรูปแบบของแผนการดำเนินงาน การจัดการปัญหาในพื้นที่ตลอดจนทำให้ทราบความต้องการของคนในพื้นที่ว่ามีความต้องการที่จะปรับปรุง หรือแก้ไข้ปัญหาด้านใด นอกจากนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการวางแผนการสื่อสาร เกี่ยวกับการพึ่งพาตนเองตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์การดำเนินงานของหน่วยงาน 3). งานวิจัยนี้ สามารถเป็นแนวทางในการกำหนดกรอบการศึกษาวิจัยถึงอิทธิพลของปัจจัยกำหนด วิถีการดำเนินชีวิตของชนชาวเขา การกำหนดนโยบายที่หนุนเสริมวิถีการดำเนินชีวิตที่สร้างสรรค์อันจะนำมาซึ่งการส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่คนชนบทไทยอย่างตรงเป้าหมาย และเกิดการยกระดับ คุณภาพเศรษฐกิจของชุมชนชนบทที่สอดรับไปกับบริบทการพัฒนาประเทศไทย ในปัจจุบันต่อไป
สำหรับข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการวิจัยครั้งต่อไป คือ 1). การศึกษาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการนำแบบตัวแบบที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ไปทำการวิจัยซ้ำในพื้นที่โครงการหลวง หรือศูนย์พัฒนาเชิงพื้นที่อื่น ๆ ในบริบทของประเทศไทยหรือในประเทศอื่น ๆ เพื่อทำการตรวจสอบตัวแบบว่ามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ต่อไป 2). การศึกษาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุด้านอื่น ๆ ที่เป็นปัจจัยที่มีต่อผลการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงฯ 3). การศึกษาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการดำเนินงานเชิงพื้นที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การดำเนินงานของหน่วยงานภาคเอกชน เปรียบเทียบกับหน่วยงานภาครัฐ ตลอดจนการดำเนินการเชิงบูรณาการกับภาคีอื่น ๆ เป็นต้น
ผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ประเด็น คือ 1.ภายในและภายนอกสถานศึกษาในพื้นที่ชายแดนอำเภอแม่สอด จังวัดตากนักเรียนบางรายมีพฤติกรรมที่ส่อเสี่ยงต่อปัญหายาเสพติด เช่น บุหรี่ไฟฟ้า ยาเขียวเหลือง และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สาเหตุที่สำคัญของปัญหายาเสพติด คือ ครอบครัว เพื่อน ชุมชน มีอิทธิพลอย่างมากต่อเยาวชนที่เป็นนักเรียนในพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เข้าสู่การใช้สารเสพติด 2. โรงเรียนใช้แนวทางจากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดในแนวปฏิบัติแบบเดียวกันและสอดคล้องกัน นอกจากนี้ โรงเรียนมีหน้าที่ในการจัดโครงการกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะประเด็นปัญหาและโทษของยาเสพติดผ่านโครงการและกิจกรรมรวมถึงการส่งเสริมสอดแทรกความรู้เรื่องยาเสพติดในสาระวิชาที่สอน และ3.ตัวแบบมาตรการป้องกันและการแก้ไขปัญหาการใช้สารเสพติดของเยาวชนต่อสถานศึกษาในพื้นที่ชายแดน อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก คือ ควรเพิ่มจำนวนของทีมสหวิชาชีพและเพิ่มประสิทธิภาพของกฎหมายและแนวปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ส่งเสริมกระจายอำนาจให้ชุมชนส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย คือ ควรมีการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีความรู้และมีศักยภาพสอดรับต่อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดโดยเฉพาะปัญหายาเสพติดที่มาพร้อมกับการเข้าถึงข้อมูลทั้งการสั่งซื้อในรูปแบบออนไลน์โดยเฉพาะบุหรี่ไฟฟ้า นอกจากนี้ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่เกิดจากปัจจัยหลาย ๆ ปัจจัย ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ปัจจัยเหล่านี้ในทางปฏิบัติในการสร้างมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหาจำเป็นต้องเรียนรู้และเข้าใจบริบทของปัญหาซึ่งจะนำไปสู่ผลของการออกแบบวิธีการรับมือต่อสภาพปัญหาดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากข้อถกเถียงข้างต้นในส่วนของ พรรคอนาคตใหม่ที่เป็นพรรคการเมืองที่มีความเคลื่อนไหวและเป็นการขับเคลื่อนประเด็นเรื่องการแก้ไข รัฐธรรมนูญและมรดกทางการเมืองของอำนาจเผด็จการ โดยเฉพาะเลขาธิการพรรค คือ ปิยบุตร แสงกนกกุล ที่พยายามอธิบายปัญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้น นั้นเกิดจากโครงสร้างและสถาบันทางการเมืองที่เป็น รัฐธรรมนูญได้ถูกละเลยเรื่องการตีในความหมายว่าเป็นผลผลิตของสัญญะของการแตกหักกับระบอบเก่า ดังนั้น เส้นทางและนโยบายของพรรคอนาคตใหม่ที่ปรากฏจึงมุ่งทำให้สังคมและประชาชนตระหนักถึงอำนาจสถาปนา ในรัฐธรรมนูญว่าแท้จริงแล้วประชาชนคือเจ้าของอำนาจอธิปไตยนี้ผ่านเส้นทางของการพัฒนาประชาธิปไตยในรัฐไทย
ผลการวิจัยที่ผู้วิจัยได้นำเสนอในบทความฉบับนี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเด็น คือ 1.พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2.ความคิดเห็นเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ 3.การรับรู้มาตรการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลการวิจัยทั้ง 3 ประเด็น นำไปสู่การอธิบายให้เห็นภาพของสถานการณ์เกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในถนนนิมมานเหมินท์ จังหวัดเชียงใหม่
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย 1. การนำเสนอเรื่องเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จำเป็นต้องแก้ไขข้อกฎหมายให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และเป็นไปตามสภาพสังคม มิติทางเศรษฐกิจ และวิธีการรับข้อมูลข่าวสารของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป 2. รัฐต้องปรับทำนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เข้มแข็ง ควบคุมทั้ง อุตสาหกรรม ตลาดการค้าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้งผู้ผลิตรายใหญ่ รายย่อย และการควบคุมการดื่มให้เป็นการทั่วไปไม่มีการเลือกปฏิบัติจนนำไปสู่การเอื้อต่อกลุ่มทุนขนาดรายใหญ่หรือผู้มีอิทธิพล
2)การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ได้แก่ 1. เจ้าหน้าที่และพนักงานของรัฐระดับจังหวัด และ 2.เจ้าหน้าที่และพนักงานของรัฐระดับท้องถิ่น ผลการวิจัย คือ (1) จังหวัดพิษณุโลกยังไม่มียุทธศาสตร์และนโยบาย หรือมาตรการที่เป็นกรณีเฉพาะต่อปัญหาเรื่องการพนันออนไลน์ และยังไม่มีแผนหรือนโยบายที่มีการแก้ไขปัญหาเยาวชนกับการพนันออนไลน์อย่างเป็นรูปธรรม 2) จังหวัดพิษณุโลกให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของสถาบันการศึกษา สถานบันศาสนา ชุมชน และสถาบันครอบครัว ในการเป็นกลไกการทำงานในเรื่องของการแก้ไขปัญหาในเรื่องการพนันออนไลน์กับเยาวชนทั้งในเชิงรุกและรับโดยจะเห็นจากให้ความสำคัญในเรื่องการบูรณาการการลงพื้นที่เพื่อประเมินความเสี่ยง การแจ้งเบาะแส การดำเนินคดี การจับกุม (3 ) ควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้มีความทันสมัยโดยครอบคลุมกับการพนันออนไลน์ ข้อเสนอแนะ คือ ต้องพัฒนาการปฏิบัติงาน ระบบคิด วิสัยทัศน์ แรงจูงใจ และวัฒนธรรมองค์กร ของหน่วยงานภาครัฐในการดำเนินการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาเรื่องการพนันออนไลน์ในเยาวชนในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก
ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างให้มีความเข้มแข็งและมีการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพได้ 2. ข้อมูลวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นฐานข้อมูลในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดทั้งทางทฤษฎีและการดำเนินงานให้แก่เยาวชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
management to Phitsanulok Municipality and other local administrative organizations. The samples in this qualitative research consisted of three groups of informants including government agencies, representatives of the public sector, and academics in local government. The research instrument was an interview form. The results are reported as follows. 1) Phitsanulok Municipality’s guideline and the executive’s vision are aligned with the changing situation under this outbreak that leads to flexibility and efficiency in service provision. 2) The public sector is cooperative in following the measures and the adaptation approach of Phitsanulok Municipality in dealing with the outbreak, and 3) Phitsanulok Municipality and other local government organizations should have a plan that enhances workers to adjust to the new normal mode of working. The COVID-19 pandemic reflects the bureaucratic nature of centralized power which causes delays in problem solving and budget constraints. Suggestion from the research is that there should be a further study on the issue of changes in the change management of local
administrative organizations under the outbreak of COVID-19 in social and economic dimensions under the concept of Covidization.
study on the urban development of rural areas in Doi Mon Cham 2) study the effects from the urban development in Doi Mon Cham in terms of political, economic, social and environmental analysis. The qualitative research using in-depth interview and non-participant observation was done. Moreover, the additional data was also collected during the field work. The study found that there are pros and cons according to the urban
development. In Nong Hoi community, the development caused a good
cooperation between state agencies and the community. Also, it creates the better facilities which attract and facilitate the tourists. To clarify this, the economic change was happened because the local agricultures focus on tourists’ services and business rather than the agriculture nowadays. Next, the local authorities are the key people who transfer knowledge concerning the infrastructure development to the locals. Thirdly, the life style of the villagers living in Doi Mon Cham has been changed since they use more and more technology in order to serve the tourism business and attract more tourists. Lastly, the fourth outcome that found in this research was the increasing of air pollution and waste problem due to the increasing number of tourists.
the Sufficiency Economy Philosophy in the community areas in Nong Hoi Royal Project Development Center, Chiang Mai Province. We selected to provide the complete research data set in the qualitative data section by
conducting an in-depth interview by semi-structured Interview and employing a purposive sampling method. The informants were classified into two categories: 1. Involved government officials 2. The public sector in the aforementioned areas. The following are the research findings: 1. The transition from traditional agriculture to commercial agriculture under the concept of self-reliance according to the Sufficiency Economy Philosophy. 2. Promoting decentralization and participation 3.Development of community enterprises and networks for the
purpose of developing tourist attractions 4. Increasing awareness of local tourism businesses and tourist service
skills. Recommendations for further research include a comparison of the spatial operating models of relevant agencies, such as private sector operations vs government operations, as well as integrated operations with other parties.
diversity of meanings of the mutual relationship between capitalists and farmers 2. The roles of states: The
relationship of contract farming and the border areas 3. Contract farming and changes in farmers' societies on the
border areas. In these three issues, the author aimed to point out the characteristic of contract farming by
explaining the roles of states, capitalists and farmers. Performing the roles is based on the dependent relationship
which reflects the formation of contract farming on the border areas through cooperation between states on the
basis of the sub-regional cooperation framework that is full of benefits and power relationship based on inequality
that lead to the problem of changes in the farmers' societies after the contract farming activities had established
their power.
ของรัฐส่วนกลางนั้น มีระบบการดำเนินงานที่มีลักษณะบนลงล่าง กล่าวคือ มีลักษณะรวมศูนย์อำนาจไม่เกิดการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นเพื่อบริหารจัดการ โดยลักษณะการดำเนินงานที่เกิดขึ้นมีการใช้เครื่องมือทางอำนาจผ่านระบบของเอกสารไม่ว่าจะเป็น คำสั่ง หนังสือราชการ และ3.กฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีการผูกขาดอำนาจส่งผลต่อการได้ประโยชน์ของกลุ่มทุนขนาด
ใหญ่ด้านเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และยังมีข้อจำกัดในเรื่องของการขาดการกระจายอำนาจทางด้านกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในภาคส่วนอื่น ๆ เช่นท้องถิ่น ประชาชน
ข้อเสนอแนะในงานวิจัย คือ 1.ควรมีการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการนำนโยบายเกี่ยวกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปปฏิบัติเชิงพื้นที่ 2.ควรส่งเสริมการบทบาทการมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานราชการ ประชาชน เอกชนและภาคประชาสังคม และ 3.การเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบายของประเทศและส่งเสริมบทบาทของบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในชุมชนให้มากขึ้น