Papers by Warunee Osatharom
บทความนี้เป็นการศึกษาศักยภาพและการพัฒนาองค์กรเครือข่ายทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย... more บทความนี้เป็นการศึกษาศักยภาพและการพัฒนาองค์กรเครือข่ายทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน โดยใช้กรณีศึกษา เครือข่ายประชาสังคมเมืองเชียงใหม่กับการฟื้นฟู - สืบสานวัฒนธรรมล้านนา เครือข่ายเมืองศิลป์ อุบลราชธานี เครือข่ายชมรมเพื่อนพิพิธภัณฑ์แห่งนครปฐม และเครือข่ายตลาดเก่าและตลาดน้ำ เป็นกรณีศึกษาต่างภูมิภาคและแสดงถึงรูปแบบของเครือข่ายที่ต่างกันระหว่างเครือข่ายขนบจารีตกับเครือข่ายสมัยใหม่
จากการศึกษาพบว่า เครือข่ายประชาสังคมกลุ่มหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ ในชื่อ สืบสานล้านนา สามารถพัฒนาเป็นเครือข่ายสมบูรณ์แบบในรูปองค์กร โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา ซึ่งสามารถเชื่อมโยงองค์กรเครือข่ายวัฒนธรรมชุมชนชาวบ้าน กับเครือข่ายภาคประชาสังคมเมือง ในส่วนของเครือข่ายเมืองศิลป์ อุบลราชธานี ประกอบด้วยเครือข่ายขนบจารีตคือ เครือข่ายช่าง เครือข่ายวัด และองค์กรปกครองท้องถิ่นซึ่งเป็นเครือข่ายภาครัฐที่ร่วมกันสร้างสรรค์สภาวะความเป็นเมืองศิลป์ ในงานประเพณีแห่เทียนพรรษา อย่างไรก็ตาม เครือข่ายเมืองศิลป์ อุบลราชธานี ยังมีปัญหาข้อจำกัดในการสร้างความยั่งยืนในอนาคต จากการที่สถานะช่างฝีมือพื้นบ้านยังไม่ได้รับการรับรองจากองค์กรเครือข่ายภายนอก
ในขณะที่ ชมรมเพื่อนพิพิธภัณฑ์แห่งจังหวัดนครปฐม อาจต้องการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้สมาชิกและการจัดกิจกรรม ซึ่งสัมพันธ์กับปัจจัยด้านผู้นำและแนวทางการพัฒนากิจกรรมให้หลากหลาย ส่วนตลาดเก่าและตลาดน้ำซึ่งมีอยู่ ๖ แห่งในกรณีศึกษา มีธรรมชาติของตลาดและวิถีชุมชนที่แตกต่างกัน หากแต่ทุกแห่งต่อสู้กับภาวะถดถอยของชุมชนตลาด อันเนื่องมาจากการขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาเมือง ถนน ที่รุกล้ำวิถีชีวิตชุมชนดั้งเดิมซึ่งสัมพันธ์กับเส้นทางคมนาคมทางน้ำ ชุมชนตลาดทุกแห่งต่างมีกระบวนการฟื้นฟูแสวงหาอัตลักษณ์เพื่อเข้าสู่การเป็นตลาดเพื่อการท่องเที่ยวที่แตกต่างกันไป ด้วยศักยภาพเรื่องเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน
This article investigates the potentiality and development of 4 cultural network organizations for sustainable cultural tourism in different parts of the country: the Civil Network for the Restoration and Conservation of Lanna Culture in Chiang Mai, the Mueng Silp Network of Ubon Ratchathani, the Museum Friend Network in Nakorn Pathom, and the Network of Old Markets and Floating Markets.
The study reveals that each organization has different forms of network and is in different stage of progress. The civil network in Chiang Mai or ‘Sueb Sarn Lanna’ has developed a cultural organization called ‘Lanna Wisdom School’ with local and urban networks. The Mueng Silp Network of craftsman and temple networks and local government makes Ubon Ratchathani known as the City of Art by organizing Buddhist Lent Candle Procession. The sustainability of the network is doubtful, though, as local craftsmen are unknown outside the community.
To be sustainable in cultural tourism, the Museum Friend Network needs to strengthen relationship among its members while creating a variety of activities. Meanwhile, the six old markets and floating markets under investigation need the restoration of identity under the deterioration of market community and water transportation in present day urbanization.
Uploads
Papers by Warunee Osatharom
จากการศึกษาพบว่า เครือข่ายประชาสังคมกลุ่มหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ ในชื่อ สืบสานล้านนา สามารถพัฒนาเป็นเครือข่ายสมบูรณ์แบบในรูปองค์กร โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา ซึ่งสามารถเชื่อมโยงองค์กรเครือข่ายวัฒนธรรมชุมชนชาวบ้าน กับเครือข่ายภาคประชาสังคมเมือง ในส่วนของเครือข่ายเมืองศิลป์ อุบลราชธานี ประกอบด้วยเครือข่ายขนบจารีตคือ เครือข่ายช่าง เครือข่ายวัด และองค์กรปกครองท้องถิ่นซึ่งเป็นเครือข่ายภาครัฐที่ร่วมกันสร้างสรรค์สภาวะความเป็นเมืองศิลป์ ในงานประเพณีแห่เทียนพรรษา อย่างไรก็ตาม เครือข่ายเมืองศิลป์ อุบลราชธานี ยังมีปัญหาข้อจำกัดในการสร้างความยั่งยืนในอนาคต จากการที่สถานะช่างฝีมือพื้นบ้านยังไม่ได้รับการรับรองจากองค์กรเครือข่ายภายนอก
ในขณะที่ ชมรมเพื่อนพิพิธภัณฑ์แห่งจังหวัดนครปฐม อาจต้องการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้สมาชิกและการจัดกิจกรรม ซึ่งสัมพันธ์กับปัจจัยด้านผู้นำและแนวทางการพัฒนากิจกรรมให้หลากหลาย ส่วนตลาดเก่าและตลาดน้ำซึ่งมีอยู่ ๖ แห่งในกรณีศึกษา มีธรรมชาติของตลาดและวิถีชุมชนที่แตกต่างกัน หากแต่ทุกแห่งต่อสู้กับภาวะถดถอยของชุมชนตลาด อันเนื่องมาจากการขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาเมือง ถนน ที่รุกล้ำวิถีชีวิตชุมชนดั้งเดิมซึ่งสัมพันธ์กับเส้นทางคมนาคมทางน้ำ ชุมชนตลาดทุกแห่งต่างมีกระบวนการฟื้นฟูแสวงหาอัตลักษณ์เพื่อเข้าสู่การเป็นตลาดเพื่อการท่องเที่ยวที่แตกต่างกันไป ด้วยศักยภาพเรื่องเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน
This article investigates the potentiality and development of 4 cultural network organizations for sustainable cultural tourism in different parts of the country: the Civil Network for the Restoration and Conservation of Lanna Culture in Chiang Mai, the Mueng Silp Network of Ubon Ratchathani, the Museum Friend Network in Nakorn Pathom, and the Network of Old Markets and Floating Markets.
The study reveals that each organization has different forms of network and is in different stage of progress. The civil network in Chiang Mai or ‘Sueb Sarn Lanna’ has developed a cultural organization called ‘Lanna Wisdom School’ with local and urban networks. The Mueng Silp Network of craftsman and temple networks and local government makes Ubon Ratchathani known as the City of Art by organizing Buddhist Lent Candle Procession. The sustainability of the network is doubtful, though, as local craftsmen are unknown outside the community.
To be sustainable in cultural tourism, the Museum Friend Network needs to strengthen relationship among its members while creating a variety of activities. Meanwhile, the six old markets and floating markets under investigation need the restoration of identity under the deterioration of market community and water transportation in present day urbanization.
จากการศึกษาพบว่า เครือข่ายประชาสังคมกลุ่มหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ ในชื่อ สืบสานล้านนา สามารถพัฒนาเป็นเครือข่ายสมบูรณ์แบบในรูปองค์กร โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา ซึ่งสามารถเชื่อมโยงองค์กรเครือข่ายวัฒนธรรมชุมชนชาวบ้าน กับเครือข่ายภาคประชาสังคมเมือง ในส่วนของเครือข่ายเมืองศิลป์ อุบลราชธานี ประกอบด้วยเครือข่ายขนบจารีตคือ เครือข่ายช่าง เครือข่ายวัด และองค์กรปกครองท้องถิ่นซึ่งเป็นเครือข่ายภาครัฐที่ร่วมกันสร้างสรรค์สภาวะความเป็นเมืองศิลป์ ในงานประเพณีแห่เทียนพรรษา อย่างไรก็ตาม เครือข่ายเมืองศิลป์ อุบลราชธานี ยังมีปัญหาข้อจำกัดในการสร้างความยั่งยืนในอนาคต จากการที่สถานะช่างฝีมือพื้นบ้านยังไม่ได้รับการรับรองจากองค์กรเครือข่ายภายนอก
ในขณะที่ ชมรมเพื่อนพิพิธภัณฑ์แห่งจังหวัดนครปฐม อาจต้องการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้สมาชิกและการจัดกิจกรรม ซึ่งสัมพันธ์กับปัจจัยด้านผู้นำและแนวทางการพัฒนากิจกรรมให้หลากหลาย ส่วนตลาดเก่าและตลาดน้ำซึ่งมีอยู่ ๖ แห่งในกรณีศึกษา มีธรรมชาติของตลาดและวิถีชุมชนที่แตกต่างกัน หากแต่ทุกแห่งต่อสู้กับภาวะถดถอยของชุมชนตลาด อันเนื่องมาจากการขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาเมือง ถนน ที่รุกล้ำวิถีชีวิตชุมชนดั้งเดิมซึ่งสัมพันธ์กับเส้นทางคมนาคมทางน้ำ ชุมชนตลาดทุกแห่งต่างมีกระบวนการฟื้นฟูแสวงหาอัตลักษณ์เพื่อเข้าสู่การเป็นตลาดเพื่อการท่องเที่ยวที่แตกต่างกันไป ด้วยศักยภาพเรื่องเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน
This article investigates the potentiality and development of 4 cultural network organizations for sustainable cultural tourism in different parts of the country: the Civil Network for the Restoration and Conservation of Lanna Culture in Chiang Mai, the Mueng Silp Network of Ubon Ratchathani, the Museum Friend Network in Nakorn Pathom, and the Network of Old Markets and Floating Markets.
The study reveals that each organization has different forms of network and is in different stage of progress. The civil network in Chiang Mai or ‘Sueb Sarn Lanna’ has developed a cultural organization called ‘Lanna Wisdom School’ with local and urban networks. The Mueng Silp Network of craftsman and temple networks and local government makes Ubon Ratchathani known as the City of Art by organizing Buddhist Lent Candle Procession. The sustainability of the network is doubtful, though, as local craftsmen are unknown outside the community.
To be sustainable in cultural tourism, the Museum Friend Network needs to strengthen relationship among its members while creating a variety of activities. Meanwhile, the six old markets and floating markets under investigation need the restoration of identity under the deterioration of market community and water transportation in present day urbanization.