ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน
หน้าตา
ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน | |
---|---|
ปลัดกระทรวงกลาโหม | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 – 30 กันยายน พ.ศ. 2556 | |
ก่อนหน้า | พลเอกเสถียร เพิ่มทองอินทร์ |
ถัดไป | พลเอกนิพัทธ์ ทองเล็ก |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | พ.ศ. 2496 |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
สังกัด | กองทัพบกไทย กระทรวงกลาโหม |
ประจำการ | ? - 2556 |
ยศ | พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก |
บังคับบัญชา | ปลัดกระทรวงกลาโหม |
พลเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน[1] เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2496 อดีตราชองครักษ์พิเศษ[2] อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก และได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นปลัดกระทรวงกลาโหม[3] สืบต่อจาก พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ ที่เกษียณอายุราชการ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555
การศึกษา
[แก้]จบการศึกษาจากโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย พล.อ. ทนงศักดิ์ เป็นนักเรียนโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 11 โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 22
การทำงาน
[แก้]พล.อ. ทนงศักดิ์ เป็นอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก ได้รับการสนับสนุนจาก พล.อ.อ. สุกำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงกลาโหม[4] สืบต่อจาก พล.อ. เสถียร เพิ่มทองอินทร์ ระหว่างวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ถึงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2553 เขาเป็นกรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
[แก้]- พ.ศ. 2554 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[5]
- พ.ศ. 2551 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[6]
- พ.ศ. 2521 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[7]
- พ.ศ. 2522 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[8]
- พ.ศ. 2528 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[9]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
[แก้]- สหประชาชาติ :
- พ.ศ. 2545 - เหรียญคณะผู้แทนสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก [10]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศทหารและแต่งตั้งนายทหารพิเศษราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 ตอนที่ 37 ข วันที่ 5 ธันวาคม 2555
- ↑ ราชองครักษ์พิเศษ
- ↑ "โปรดเกล้าฯ "พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน" เป็นปลัด กห". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2013-02-11.
- ↑ โปรดเกล้าฯพลเอกทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน เป็นปลัดกห.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๔ เก็บถาวร 2012-11-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๔ ข หน้า ๔, ๒ ธันวาคม ๒๕๕๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เก็บถาวร 2009-01-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๑๗ ข หน้า ๑๒, ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๖ ตอนที่ ๒๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๐๕, ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๙๖ ตอนที่ ๒๑๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๕, ๒๔ ธันวาคม ๒๕๒๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๐๓ ตอนที่ ๕๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗, ๑๔ เมษายน ๒๕๒๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประดับเหรียญตราต่างประเทศ, เล่ม 119 ตอนที่ 20 ข หน้า 3, 29 พฤศจิกายน 2545