ข้ามไปเนื้อหา

ปฏิบัติการรุกเบลโกรอด-ฮาร์คอฟ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปฏิบัติการรุกเบลโกรอด-คาร์คอฟ
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง
วันที่12–23 สิงหาคม 1943
สถานที่
ผล โซเวียตได้รับชัยชนะ
คู่สงคราม
 ไรช์เยอรมัน  สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี เอริช ฟอน มันชไตน์ สหภาพโซเวียต อีวาน โคเนฟ
กำลัง
200,000 men; 237 tanks and assault guns at the outset 1,144,000 men[1]
2,418 tanks[2]
13,633 guns and rocket launchers[2]
ความสูญเสีย
10,000 men killed or missing in action, 20,000 WIA[3]
240 tanks lost[3]
unknown guns
71,611 killed
113,955 wounded[4]
~1,500 tanks lost[5]
423 artillery guns

ปฏิบัติการรุกเบลโกรอด-คาร์คอฟ,รหัสนามว่า ปฏิบัติการ Polkovodets Rumyantsev (รัสเซีย: Полководец Румянцев),และได้เป็นที่รู้จักกันคือ ยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 4 เป็นการรุกรานของโซเวียตในการยึดเมืองคาร์คอฟ (ปัจจุบันคือคาร์คิฟ) และเบลโกรอดกลับคืนมาและทำลายกองทัพเยอรมันของกองทัพแพนเซอร์ที่ 4 และกองทัพDetachment Kempt ปฏิบัติการครั้งนี้ได้ใช้ชื่อของจอมพล Peter Rumyantsev ในช่วงหลังของศวตรรษที่ 18 และได้สร้างแนวรบโวโรเนชและสเต็ปป์ในส่วนทางตอนใต้ของตอกลิ่มที่เคิสก์

ปฏิบัติการได้เริ่มขึ้นในชั่วโมงก่อนของวันที่ 3 สิงหาคม ปี ค.ศ. 1943,โดยมีเป้าหมายในการติดตามต่อความประสบผลสำเร็จของโซเวียตในความพยายามป้องกันต้านทานกองทัพเยอรมันในปฏิบัติการซิทาเดล.การรุกรานได้รับสั่งการต่อกองทัพกลุ่มตอนใต้ในปีกทางเหนือ เมื่อ 23 สิงหาคม ปี ค.ศ. 1943. กองพลของโซเวียตจากแนวรบ Voronezh และ Steppe ได้ยึดคาร์คอฟมาจากกองทัพเยอรมันมาได้สำเร็จ นี่เป็นครั้งสุดท้ายที่เมืองคาร์คอฟถูกผลัดแย่งชิงกันระหว่างสงครามโซเวียต-เยอรมัน ปฏิบัติการครั้งนี้ได้นำไปสู่การถอยทัพของเยอรมันในยูเครนที่หลังแม่น้ำนีเปอร์,และเป็นการเปิดฉากของยุทธการที่เคียฟในช่วงฤดูใบไม้ร่วงในปี ค.ศ. 1943

อ้างอิง

[แก้]
  1. Krivosheev 1997, p. 134.
  2. 2.0 2.1 Koltunov p. 81.
  3. 3.0 3.1 Frieser (2007) p. 154
  4. Glantz & House 1995, p. 297.
  5. Krivosheev 1997, p. 262.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • Krivosheev 1997, p. 134.
  • Koltunov p. 81.
  • Frieser (2007) p. 154
  • Glantz & House 1995, p. 297.
  • Krivosheev 1997, p. 262.