ข้ามไปเนื้อหา

สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ

พิกัด: 47°22′53″N 8°34′28″E / 47.38139°N 8.57444°E / 47.38139; 8.57444
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ฟีฟ่า)
สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ
Fédération Internationale de Football Association
(FIFA)
ชื่อย่อFIFA[1]
คําขวัญFor the Game. For the World.
ก่อตั้ง21 พฤษภาคม 1904; 120 ปีก่อน (1904-05-21)
ก่อตั้งที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส
ประเภทสหพันธ์กีฬา
สถานะตามกฎหมายบริหารด้านกีฬา
สํานักงานใหญ่ซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
พิกัด47°22′53″N 8°34′28″E / 47.38139°N 8.57444°E / 47.38139; 8.57444
ภูมิภาคที่รับผิดชอบ
ทั่วโลก
สมาชิก
211 ชาติสมาชิก
ภาษาทางการ
ฝรั่งเศส, อังกฤษ, สเปน,
เยอรมัน, รัสเซีย, อาหรับ
จันนี อินฟันตีโน
รองประธานอาวุโส
ซัลมาน บิน อิบรอฮีม อัลเคาะลีฟะฮ์ (AFC)
รองประธาน
เลขาธิการ
มัทเทียส กราฟสตรอม
องค์กรแม่
ฟีฟ่าคองเกรส
หน่วยงานในกํากับ
  • AFC (เอเชียและออสเตรเลีย)
  • CAF (แอฟริกา)
  • CONCACAF (อเมริกาเหนือ)
  • CONMEBOL (อเมริกาใต้)
  • OFC (โอเชียเนีย)
  • UEFA (ยุโรป)
สังกัดคณะกรรมการโอลิมปิกสากล
คณะกรรมการสมาคมฟุตบอลระหว่างประเทศ
พนักงาน
750
เว็บไซต์fifa.com

สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ[3] (ฝรั่งเศส: Fédération Internationale de Football Association) หรือ ฟีฟ่า (FIFA) เป็นองค์กรที่ดำเนินการในกีฬาฟุตบอลระหว่างประเทศ และเป็นองค์กรกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน สำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

ฟีฟ่าก่อตั้งเมื่อ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 ที่เมืองกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยจะเห็นได้จากชื่อในภาษาฝรั่งเศสที่ยังคงใช้มาในปัจจุบัน โดยประธานฟีฟ่าคนแรกคือ รอแบร์ เกแร็ง

การแข่งขันกีฬาที่จัดโดยฟีฟ่า

[แก้]

นอกจากฟุตบอลพื้นฐานแล้ว ฟีฟ่ายังคงจัดการแข่งขัน

องค์กรในแต่ละภูมิภาค

[แก้]
แบ่งแยก 6 องค์กรตามภูมิภาค โดยบางประเทศอาจเป็นข้อยกเว้น
สมาชิกปัจจุบันของ UAFA

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Fédération Internationale de Football Association". Filmcircle.com. 11 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 October 2014. สืบค้นเมื่อ 11 June 2014.
  2. FIFA.com. "FIFA Committees - FIFA Council - FIFA.com". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2015. สืบค้นเมื่อ 19 December 2016.
  3. "FA Thailand - FIFA". fathailand.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-20. สืบค้นเมื่อ 2021-08-07.

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Paul Darby, Africa, Football and Fifa: Politics, Colonialism and Resistance (Sport in the Global Society), Frank Cass Publishers 2002, ISBN 0-7146-8029-X.
  • John Sugden, FIFA and the Contest For World Football, Polity Press 1998, ISBN 0-7456-1661-5.
  • Jim Trecker, Charles Miers, J. Brett Whitesell, ed., Women's Soccer: The Game and the Fifa World Cup, Universe 2000, Revised Edition, ISBN 0-7893-0527-5.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]