ข้ามไปเนื้อหา

มาซิโดเนีย (กรีซ)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มาซิโดเนีย

Μακεδονία
Flag of Macedonia
ธง
เพลง: «Μακεδονία ξακουστή»
Makedonia xakousti
"ดินแดนมาซิโดเนียอันเลื่องลือ"
(ไม่เป็นทางการ)
Macedonia
แผนที่มาซิโดเนีย (สีฟ้า) ในประเทศกรีซ
ประเทศ กรีซ
ก่อตั้งค.ศ. 1913[1]
เมืองหลวง เทสซาโลนีกี
ภูมิภาค[2]
การปกครอง
 • องค์กรกระทรวงมาซิโดเนียและเทรซ
 • รัฐมนตรีกระทรวงมาซิโดเนียและเทรซMaria Kollia-Tsaroucha (พรรคอิสระแห่งกรีซ)
พื้นที่
 • ทั้งหมด34,177 ตร.กม. (13,196 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่อันดับ 1
ความสูงจุดสูงสุด2,917 เมตร (9,570 ฟุต)
ความสูงจุดต่ำสุด0 เมตร (0 ฟุต)
ประชากร
 (สำมโน 2011)[3]
 • ทั้งหมด2,400,721 คน
 • อันดับที่ 2 ในประเทศกรีซ
 • ความหนาแน่น70 คน/ตร.กม. (180 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมชาวมาซิโดเนีย
GDP (PPP)€39.749 พันล้าน[4] ($53.140 พันล้าน[5])
Per capita€16,557 ($22,135[5])
GDP (nominal)€36.634 พันล้าน[4] ($48.976 พันล้าน[5])
Per capita€15,260 ($20,400[5])
  • ถึงธงประจำภูมิภาคมาซิโดเนียนี้จะใช้อย่างแพร่หลาย แต่ตามกฎหมายธงประจำมาซิโดเนียไม่ถือเป็นสัญลักษณ์ทางการ
  • ตราเวอร์จินา ซันถึงใช้กันอย่างแพร่หลาย แต่ตามกฎหมายตรานี้ไม่ถือเป็นสัญลักษณ์ทางการ อย่างไรก็ตามทางประเทศกรีซได้ขอจดลิขสิทธิ์จากตรานี้กับองค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก[6]
  • เพลงดินแดนมาซิโดเนียอันเลื่องลือ เป็นเพลงมาร์ชของกองทัพกรีซ แต่ได้ถูกนำมาใช้เป็นเพลงชาติของภูมิภาคมาซิโดเนีย

มาซิโดเนีย (/ˌmæsɪˈdniə/ ( ฟังเสียง); กรีก: Μακεδονία, Makedonía [maceðoˈnia]) เป็นภูมิภาคประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ของประเทศกรีซที่ตั้งอยู่ทางใต้ของบอลข่าน มาซิโดเนียเป็นภูมิภาคที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสองของประเทศกรีซ โดยมีเมืองที่มีภูเขา ประชากร และท่าเรือมาก คือเมืองเทสซาโลนีกี (หรือ เมืองซารอนนิกา) และเมืองคาราวา ที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางตอนใต้ มาซิโดเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของกรีซตอนเหนือพร้อมกับเทรซ

ในอดีตมาซิโดเนียมีผู้ปกครองมากมาย ซึ่งในตอนนั้นมีราชวงศ์ที่เป็นที่รู้จักในวงกว้าง คือ ราชวงศ์อาเจรท์ ซึ่งมีกษัตริย์ที่เป็นที่รู้จัก คือ อเล็กซานเดอร์มหาราช และพระราชบิดา พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา ชื่อของมาซิโดเนียมีการใช้ในสมัยจักรวรรดิโรมัน/ไบแซนไทน์ ซึ่งมีระยะเวลาห่างกันมาก (ดูเพิ่มเติม มาซิโดเนีย (ภูมิภาค))

เชิงอรรถ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Macedonia". Encyclopædia Britannica. www.britannica.com. สืบค้นเมื่อ 27 July 2011.
  2. Π.Δ. 51/87 "Καθορισμός των Περιφερειών της Χώρας για το σχεδιασμό κ.λ.π. της Περιφερειακής Ανάπτυξης" (Determination of the Regions of the Country for the planning etc. of the development of the regions). Government Gazette. 1987.
  3. "Announcement of the results of the 2011 Population Census for the Resident Population" (PDF). Hellenic Statistical Authority. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 13 November 2013. สืบค้นเมื่อ 6 February 2013.
  4. 4.0 4.1 "Gross domestic product (GDP) at current market prices at NUTS level 3". Eurostat. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2013. สืบค้นเมื่อ 12 September 2014.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 According to the United States Internal Revenue Service, the average exchange rate of the United States Dollar to the Euro in 2011 was 0.748 เก็บถาวร 2012-08-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  6. World Intellectual Property Organization: 1st variety เก็บถาวร 2011-11-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, 2nd variety เก็บถาวร 2014-10-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, 3rd variety เก็บถาวร 2013-12-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Council of Europe, Steering Committee on Local and Regional Democracy (2001). "Special Regulations for Particular Areas - the Legal Status of Aghion Oros". Structure and operation of Local and Regional Democracy. Council of Europe. ISBN 92-871-4644-6.
  • Elster, Ernestine S.; Renfrew, Colin, บ.ก. (2003). Prehistoric Sitagroi: Excavations in Northeast Greece, 1968-1970. Monumenta Archaeologica 20. Vol. 2. Cotsen Institute of Archaeology. ISBN 1-931745-03-X.
  • Fine, John Van Antwerp (1994). "Serbian Participation in the Byzantine Civil War". The Late Medieval Balkans. University of Michigan Press. ISBN 0-472-08260-4.
  • Renfrew, Colin; Gimbutas, Marija; Elster, Ernestine S., บ.ก. (1986). Excavations at Sitagroi: a Prehistoric Village in Northeast Greece. Monumenta Archaeologica 13. Vol. 2. Cotsen Institute of Archaeology. ISBN 0-917956-51-6.
  • Renfrew, Colin (1969). "The Autonomy of the South-east European Copper Age". Proceedings of the Prehistoric Society. 35: 12–47. สืบค้นเมื่อ 2009-05-11.
  • Rodden, R.J.; Wardle, K.A., บ.ก. (1996). Nea Nikomedeia: the Excavation of an Early Neolithic Village in Northern Greece 1961–1963. Supplementary series 25. Vol. 1. Athens: British School of Athens.
  • Samsaris, Dimitrios C. Historical Geography of Eastern Macedonia during the Antiquity (in Greek), Thessaloniki 1976 and Historical Geography of Western Macedonia (in Greek), Thessaloniki 1989 (publisher=Society for Macedonian Studies)
  • Souvatzi, Stella G. (2008). A Social Archaeology of Households in Neolithic Greece : an Anthropological Approach. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-83689-0.
  • Treadgold, Warren (1995). "The Roman Army's Second Millenium". Byzantium and Its Army, 284-1081. Stanford University Press. ISBN 0-8047-3163-2. [ตามต้นฉบับ]
  • Vacalopoulos, Apostolos E. (1973). History of Macedonia, 1354-1833 (translated by P. Megann). Zeno Publishers. ISBN 0-900834-89-7.
  • Wardle, K.A. (1997). "The Prehistory of Northern Greece: a Geographical Perspective". Afieroma to N.G.L. Hammond. Society of Macedonian Studies. ISBN 960-7265-36-X.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

แหล่งข้อมูลทางการ

[แก้]