พ.ศ. 2511
หน้าตา
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2511 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1968 MCMLXVIII |
Ab urbe condita | 2721 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1417 ԹՎ ՌՆԺԷ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6718 |
ปฏิทินบาไฮ | 124–125 |
ปฏิทินเบงกอล | 1375 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2918 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 16 Eliz. 2 – 17 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2512 |
ปฏิทินพม่า | 1330 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7476–7477 |
ปฏิทินจีน | 丁未年 (มะแมธาตุไฟ) 4664 หรือ 4604 — ถึง — 戊申年 (วอกธาตุดิน) 4665 หรือ 4605 |
ปฏิทินคอปติก | 1684–1685 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3134 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1960–1961 |
ปฏิทินฮีบรู | 5728–5729 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2024–2025 |
- ศกสมวัต | 1890–1891 |
- กลียุค | 5069–5070 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11968 |
ปฏิทินอิกโบ | 968–969 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1346–1347 |
ปฏิทินอิสลาม | 1387–1388 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 43 (昭和43年) |
ปฏิทินจูเช | 57 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4301 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 57 民國57年 |
พุทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีวอก สัมฤทธิศก จุลศักราช 1330 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี: จอมพล ถนอม กิตติขจร (9 ธันวาคม พ.ศ. 2506 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514)
เหตุการณ์
[แก้]- 21 มกราคม - ทีมฟุตบอลทีมชาติคองโก-กินชาซาชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา ครั้งที่ 6 ณ ประเทศเอธิโอเปีย
- 16 มีนาคม – สงครามเวียดนาม : ทหารอเมริกันสังหารหมู่พลเรือนเวียดนาม 347 คน ที่เมืองมีลาย ในเวียดนาม
- 20 สิงหาคม – กำลังทหาร 200,000 นาย พร้อมรถถัง 5,000 คัน จากประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญาวอร์ซอ รุกรานเชกโกสโลวาเกีย
- 28 สิงหาคม - ลอบสังหารนายจอห์น กอร์ดอน เอกอัครราชทูตสหรัฐประจำกัวเตมาลา
- 6 กันยายน - สวาซิแลนด์ประกาศเอกราช
- 2 ตุลาคม – นักศึกษาจำนวนมาก เสียชีวิตในเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองกลางกรุงเม็กซิโกซิตี เมืองหลวงของประเทศเม็กซิโก ซึ่งเป็นเวลาเพียง 10 วัน ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่เม็กซิโกเป็นเจ้าภาพจะเริ่มขึ้น
- 11 ตุลาคม – โครงการอะพอลโล: องค์การนาซาส่งยานอะพอลโล 7 พร้อมนักบิน 3 คนขึ้นสู่อวกาศ เป็นยานอวกาศในโครงการอะพอลโลลำแรกที่มีนักบินอวกาศขึ้นไปด้วย
- 20 ธันวาคม - ฆาตกรจักรราศีทำการฆาตกรรมด้วยการยิงปืนพกเข้าที่ศีรษะของ เบตตี ลู เจนเซน และ เดวิด ฟาราเดย์ บนถนนเลคเฮอร์แมน นับเป็นการก่อเหตุฆาตกรรมที่สามรถยืนยันได้เป็นครั้งแรกของฆาตกรต่อเนื่องรายนี้
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 1 มกราคม -
- โก อิน-ชิก แชมป์นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้
- 2 มกราคม - คิวบา กูดิง จูเนียร์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 4 มกราคม
- คัทยา ไมเออร์ นักไตรกีฬาชาวเยอรมัน
- อาเลชังดรี กามา นักฟุตบอลชาวบราซิล
- 8 มกราคม - ฮิโรกิ อิโอกะ แชมป์โลกมวยสากลชาวญี่ปุ่น
- 10 มกราคม -
- อับราฮัม ทอร์เรส แชมป์นักมวยสากลชาวเวเนซุเอลา
- 13 มกราคม - จอน รัดกิน ผู้ฝึกสอนฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 14 มกราคม - แอลแอล คูล เจ แร็ปเปอร์ชาวอเมริกัน
- 15 มกราคม - อีญากี อูร์ดังการิน
- 20 มกราคม -
- มูฮัมหมัดคาลยี อาบีกาเซฟ นักการเมืองชาวคีร์กีซ
- 22 มกราคม - ฮิโระชิ โมะริเอะ นักดนตรี นักแต่งเพลง ชาวญี่ปุ่น
- 26 มกราคม -
- พัก ชุน-ฮวา (นักจักรยาน) นักจักรยานชาวเกาหลีเหนือ
- ไหมไทย หัวใจศิลป์ นักร้อง/นักร้องลูกทุ่งชาวไทย
- 28 มกราคม -
- ซาราห์ แมคลาชแลน นักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลงชาวแคนาดา
- ราคิม นักร้องแร็ปชาวอเมริกัน
- 30 มกราคม - สมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 แห่งสเปน
กุมภาพันธ์
[แก้]- 1 กุมภาพันธ์ -
- ลิซา มารี เพรสลีย์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- สลักจิต ดลมินทร์ นักแสดงและนางแบบชาวไทย
- 3 กุมภาพันธ์ - เจ้าหญิงแองเจลาแห่งลิกเตนสไตน์
- 7 กุมภาพันธ์ - ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก นางงามจักรวาล นางสาวไทย
- 8 กุมภาพันธ์ -
- แกรี โคลแมน นักแสดงชาวอเมริกัน
- บูดี อันดุก นักแสดงและนักแสดงตลกชาวอินโดนีเซีย (ถึงแก่กรรม 11 มกราคม พ.ศ. 2559)
- 18 กุมภาพันธ์ - มอลลี ริงวอลด์ นักแสดง นักร้องและนักเต้นชาวอเมริกัน
- 20 กุมภาพันธ์ -
- จตุพร เจริญเชื้อ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขอนแก่น
- โยโกะ อิชิโนะ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น
- 22 กุมภาพันธ์ - เดลฟีน โบเอล พระราชธิดานอกสมรสใน สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม
- 29 กุมภาพันธ์ - นาตาชา เปลี่ยนวิถี นางแบบและนักแสดงชาวไทย
มีนาคม
[แก้]- 2 มีนาคม -
- แดเนียล เคร็ก นักแสดงชาวอังกฤษ
- 11 มีนาคม - ลิซา โลบ นักร้องหญิงชาวอเมริกัน
- 12 มีนาคม -
- ลัดดา แทมมี ดักเวิร์ธ ทหารชาวอเมริกัน
- อารอน เอคฮาร์ท นักแสดงชาวอเมริกัน
- 14 มีนาคม -
- ยัน โซสนิโอค นักแสดงชายชาวเยอรมัน
- วัลเตร์ อูโก โรดรีเกซ นักมวยสากลชาวอาร์เจนตินา
- 17 มีนาคม - อธิวัฒน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา นักแสดงชาวไทย
- 18 มีนาคม - หู จุน นักแสดงชาวจีน
- 19 มีนาคม - เจ้าชายโอโด ดยุกแห่งอ็องกูแลม
- 20 มีนาคม - เอริค เฮอร์เซเลอร์ ผู้จัดการทีมฟุตบอลและนักฟุตบอลชาวสวิส
- 22 มีนาคม - เอสไตน์ อาร์เซธ์ มือกีตาร์วงเมย์เฮม
- 23 มีนาคม -
- ปาเชตา นักฟุตบอลชาวสเปน
- เฟร์นันโด อิเอร์โร นักฟุตบอลชาวสเปน
- 26 มีนาคม - มีลอช ยอกซิช ผู้จัดการทีมชาวเซอร์เบีย
- 28 มีนาคม - แสงระวี อัศวรักษ์ มิสไทยแลนด์เวิลด์
- 30 มีนาคม - เซลีน ดิออน นักร้องชาวแคนาดา
- 31 มีนาคม - วิชัย ราชานนท์ นักมวยสากลสมัครเล่น
เมษายน
[แก้]- 5 เมษายน - พอลลา โคล นักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน
- 16 เมษายน - วิกกี เกร์เรโร ผู้จัดการมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 17 เมษายน - เจ้าชายเมาริทส์แห่งออเรนจ์-นัสเซา ฟัน โฟลเลินโฮเฟิน
- 19 เมษายน - แอชลีย์ จัดด์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 19 เมษายน - สมเด็จพระราชาธิบดีอึมสวาตีที่ 3 แห่งสวาซิแลนด์
- 23 เมษายน - เจ้าหญิงอิชฮา บินต์ ฮุสเซน
- 26 เมษายน - เฉิน เต๋อเซิน นักแสดง,ผู้ผลิต และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวฮ่องกง
- 28 เมษายน - ฮาวเวิร์ด ดอนัลด์ นักร้อง, นักเต้น, ดีเจ, มือกลอง และนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ
พฤษภาคม
[แก้]- 2 พฤษภาคม - ฮิกะรุ มิโดะริกะวะ นักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น
- 4 พฤษภาคม - สหรัถ สังคปรีชา - นักแสดงชายชาวไทย
- 8 พฤษภาคม - เอบันเฮลีโอ เปเรซ แชมป์นักมวยสากลชาวปานามา
- 10 พฤษภาคม - วิลเลียม รีกัล นักมวยปล้ำอาชีพชาวอังกฤษ
- 12 พฤษภาคม - โทนี ฮอว์ก นักสเกตบอร์ดชาวอเมริกัน
- 13 พฤษภาคม - สกอตต์ มอร์ริซัน นายกรัฐมนตรีคนที่ 30
- 19 พฤษภาคม - พอล ฮาร์ตนอลล์ นักดนตรีชาวอังกฤษ
- 21 พฤษภาคม - อนุวรรตน์ ทับวัง นักร้องนำวงไฮ-ร็อก
- 26 พฤษภาคม - สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 10 แห่งเดนมาร์ก
- 27 พฤษภาคม - ดาดอย แอนดูจาร์ แชมป์นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์
- 28 พฤษภาคม - ไคลี มิโนก นักแสดงและนักร้องชาวออสเตรเลีย
มิถุนายน
[แก้]- 1 มิถุนายน - เจสัน โดโนแวน นักแสดง นักร้องชาวออสเตรเลีย
- 10 มิถุนายน - โนะบุโตะชิ คันนะ นักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น
- 11 มิถุนายน -
- 12 มิถุนายน - เจ้าหญิงซิบิลลาแห่งลักเซมเบิร์ก
- 13 มิถุนายน -
- เดวิด เกรย์ นักร้อง/นักประพันธ์เพลงชาวอังกฤษ
- 14 มิถุนายน - อุคนากิน คือเรลซึค นักการเมืองชาวมองโกเลีย
- 15 มิถุนายน - ทองขาว ภัทรโชคชัย นักแสดงชายชาวไทย
- 16 มิถุนายน - อโณทัย จินดามณี ผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
- 20 มิถุนายน -
- มาแตอุช มอราวีแยตสกี นักการเมืองชาวโปแลนด์
- โรเบิร์ต รอดริเกซ ผู้กำกับภาพยนตร์/ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์/นักเขียนบทภาพยนตร์/ผู้กำกับภาพชาวอเมริกัน
- 25 มิถุนายน - อดุลย์ เหลืองบริบูรณ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี
- 26 มิถุนายน -
- กืดนี โทลาเซียส โยฮาเนสสัน นักการเมืองไอซ์แลนด์
- ฌอเวอแนล มออีซ ผู้ประกอบการชาวเฮติ
- เปาโล มัลดีนี นักฟุตบอลชาวอิตาลี
กรกฎาคม
[แก้]- 5 กรกฎาคม -
- เคน อาคามัตสึ นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น
- ไมเคิล สตูลบาร์ก นักแสดงชาวอเมริกัน
- 9 กรกฎาคม -
- ปาโอโล ดี กานีโอ นักฟุตบอลชาวอิตาลี
- 10 กรกฎาคม -
- มิน ยองชุน แชมป์นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้
- อะชีนวีระตู พระสงฆ์ชาวพม่า
- 16 กรกฎาคม -
- แลร์รี แซงเจอร์ วิกิพีเดีย นักธุรกิจชาวอเมริกัน
- วิล เฟอร์เรล นักแสดงตลกชาวอเมริกัน
- 19 กรกฎาคม - สมพร หลงจิ มุสลิมชาวไทย
- 26 กรกฎาคม -
- เจ้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารีแห่งอิหร่าน
- วีตอร์ ปือไรรา (ผู้จัดการทีมฟุตบอล) ผู้จัดการทีมชาวโปรตุเกส
- 27 กรกฎาคม -
- คลิฟฟ์ เคอร์ติส นักแสดงชาวนิวซีแลนด์
- จูเลียน แมคมาฮอน นักแสดงและอดีตนายแบบชาวอเมริกัน
- 31 กรกฎาคม - สุรเดช ทับทิมใส นักร้องและนักแสดงชาวไทย
สิงหาคม
[แก้]- 4 สิงหาคม - แดเนียล แด คิม นักแสดงชาวอเมริกัน-เกาหลีใต้
- 5 สิงหาคม - มารีน เลอ แปน นักการเมืองชาวฝรั่งเศส
- 9 สิงหาคม -
- จิลเลียน แอนเดอร์สัน นักแสดงชาวอเมริกัน
- แม็กจี ผู้กำกับชาวอเมริกัน
- อีริค บานา นักแสดงชายและนักแสดงตลกชายชาวออสเตรเลีย
- 11 สิงหาคม - เจ้าหญิงมาเบลแห่งออเรนจ์-นัสเซา
- 14 สิงหาคม - เทอร์รี โนทารี นักแสดงชาวอเมริกัน
- 16 สิงหาคม -
- ดมิทรี คารีน นักฟุตบอลชาวรัสเซีย
- สลาวีชา ยอคานอวิช นักฟุตบอลชาวเซอร์เบีย
- 23 สิงหาคม -
- ฮาจิเมะ โมริยาซุ ผู้จัดการทีมฟุตบอลและอดีตนักฟุตบอลชาวญี่ปุ่น
- 24 สิงหาคม - โชอิจิ ฟูนากิ นักมวยปล้ำอาชีพและผู้บรรยายชาวญี่ปุ่น
- 25 สิงหาคม -
- นอรานิซา อิดริส นักร้องหญิงชาวมาเลเซีย
- 27 สิงหาคม -
- ชิโร ยะชิโระ แชมป์นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น
กันยายน
[แก้]- 1 กันยายน -
- แซมมวล ดูรัน แชมป์นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์
- อุดม แต้พานิช นักแสดง นักเขียน นักพูด
- 2 กันยายน - ซินเธีย วาทรอส นักแสดงชาวอเมริกัน
- 5 กันยายน - โลซัง เซ็งเค นักกฎหมายชาวทิเบต
- 7 กันยายน - ไทกร พลสุวรรณ นักเคลื่อนไหวทางการเมืองชาวอีสาน
- 10 กันยายน - กาย ริตชี ผู้เขียนบท นักสร้างภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ
- 11 กันยายน - สลาเวน บีลิช อดีตนักฟุตบอลชาวโครเอเชีย
- 13 กันยายน -
- จักรพันธ์ ครบุรีธีรโชติ นักร้อง/นักแสดง
- 16 กันยายน - มาร์ก แอนโทนี (นักร้อง) นักร้อง-นักแต่งเพลง นักแสดงและโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน
- 17 กันยายน -
- ตีโต บีลานอบา นักฟุตบอลชาวสเปน-คาตาลัน
- เจ้าหญิงมารี-แชนทัล มกุฎราชกุมารีแห่งกรีซ
- อนาสตาเชีย (นักร้อง) นักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน
- 19 กันยายน - ลีลา ดาวส์ นักร้องชาวเม็กซิกัน
- 24 กันยายน - มิชิโกะ ฮะดะ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น
- 25 กันยายน -
- วิลล์ สมิท นักแสดง/นักร้องชาวอเมริกัน
- เจ้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซา (สิ้นพระชนม์ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2556)
- 28 กันยายน -
- เนโอมี วอตส์ นักแสดงชาวออสเตรเลีย
- เลน่า มาเรีย นักร้องชาวสวีเดน
- 29 กันยายน - มักซิม โซโคลอฟ นักการเมืองและนักเศรษฐศาสตร์ชาวรัสเซีย
ตุลาคม
[แก้]- 5 ตุลาคม -
- แดนนี แคนนอน ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ
- ธนญชัย ศรศรีวิชัย ผู้กำกับภาพยนตร์โฆษณา
- 7 ตุลาคม - ทอม ยอร์ก นักดนตรีและนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ
- 12 ตุลาคม - ฮิวจ์ แจ็คแมน นักแสดงและนักร้องชายชาวออสเตรเลีย
- 15 ตุลาคม - ดีดีเย เดช็อง นักฟุตบอลชาวฝรั่งเศส
- 16 ตุลาคม -
- 22 ตุลาคม - เชลบี ลีนน์ นักร้อง นักแต่งเพลง และนักแสดงชาวอเมริกัน
- 26 ตุลาคม - สุนีย์ เสือเปีย อินฟลูเอนเซอร์ชาวไทย
- 28 ตุลาคม - ฮวน ออร์ลันโด เอร์นันเดซ ประธานาธิบดีฮอนดูรัส
- 29 ตุลาคม - สึงกุ นักร้อง/โปรดิวเซอร์ดนตรี/นักประพันธ์เพลงชาวญี่ปุ่น
พฤศจิกายน
[แก้]- 5 พฤศจิกายน -
- เจ.ดี. เอเวอร์มอร์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- แซม ร็อกเวลล์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 6 พฤศจิกายน - เจอร์รี หยาง (วิสาหกร) มหาเศรษฐีชาวอเมริกัน 14
- 12 พฤศจิกายน -
- ประมวนศักดิ์ โพธิ์สุวรรณ นักมวยสากลสมัครเล่น
- อะยะ ฮิซะกะวะ นักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น
- 17 พฤศจิกายน - โรบิน หลี่ นักการเมือง, นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาวจีน
- 18 พฤศจิกายน - โอเวน วิลสัน นักแสดงชาวไอริช-อเมริกัน
- 22 พฤศจิกายน -
- รัสมัส เลอร์ดอร์ฟ โปรแกรมเมอร์ชาวเดนมาร์ก
- 24 พฤศจิกายน - ยุกิฮิโระ (นักดนตรี) นักดนตรีชาวญี่ปุ่น
- 27 พฤศจิกายน -
- ไมเคิล วาร์แทน นักแสดงชาวฝรั่งเศส-อเมริกัน
- 28 พฤศจิกายน - เค็ง คิตะมุระ นักดนตรีชาวญี่ปุ่น
ธันวาคม
[แก้]- 2 ธันวาคม - ลูซี ลิว นักแสดงชาวอเมริกันเชื้อสายจีน
- 3 ธันวาคม - เบรนแดน เฟรเซอร์ นักแสดงชาวแคนาดา-อเมริกัน
- 7 ธันวาคม - ราเชนทร์ ลิ้มตระกูล ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย
- 8 ธันวาคม - ไมเคิล โคล ผู้ประกาศนักมวยปล้ำอาชีพ/มวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 9 ธันวาคม - เคิร์ต แองเกิล นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 13 ธันวาคม - โทนี เคอร์แรน นักแสดงชาวสก็อต
- 28 ธันวาคม -
- อิสราเอล อดูราโม นักแสดงภาพยนตร์อังกฤษ
- 31 ธันวาคม - จูโนต์ ดิอัซ นักเขียนนวนิยายชาวอเมริกัน
ไม่ทราบวัน
[แก้]- ดวงเดือน ยืนยง นักร้องลูกทุ่งหมอลำ
- ธนากร ศรีชาพันธุ์ นักเทนนิสชาวไทย
- ปีเตอร์ ธีโอ เคอร์ติส นักข่าวชาวอเมริกัน
- วรพล ทองคำชู นักเทนนิสชายชาวไทย
- สาคร สุขศรีวงศ์ ด้านการจัดการและองค์กร
- ฮัสซัน อาลี คาอีเร นักการเมืองและนายกรัฐมนตรีโซมาเลีย
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 4 เมษายน - มาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์ ผู้นำเรียกร้องสิทธิพลเมืองชาวอเมริกัน (เกิด 15 มกราคม พ.ศ. 2472)
- 1 มิถุนายน - เฮเลน เคลเลอร์ นักมนุษยธรรมชาวอเมริกัน (เกิด 27 มิถุนายน พ.ศ. 2423)
- 16 สิงหาคม - สุรพล สมบัติเจริญ ราชาเพลงลูกทุ่ง (เกิด 25 กันยายน พ.ศ. 2473)
- 19 สิงหาคม - จอร์จ แกมอฟ นักฟิสิกส์ชาวยูเครน (เกิด 4 มีนาคม พ.ศ. 2447)
- 25 กันยายน - ปรีชา อินทรปาลิต (นามปากกา ป. อินทรปาลิต) นักประพันธ์ (เกิด 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2453)
- 20 ธันวาคม - จอห์น สไตน์เบ็ค นักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2445)
- 30 ธันวาคม - ทรีฟ ลี เลขาธิการสหประชาชาติคนแรก (เกิด 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2439)
รางวัล
[แก้]- สาขาเคมี – Lars Onsager
- สาขาวรรณกรรม – คาวาบาตะ ยาสุนาริ
- สาขาสันติภาพ – เรอเน กาแซง
- สาขาฟิสิกส์ – Luis Walter Alvarez
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – โรเบิร์ต ดับเบิลยู. ฮอลลีย์, หร โคพินท์ โขรานา, มาร์แชลล์ ดับเบิลยู. ไนเรนเบิร์ก