Academia.eduAcademia.edu

Paper

2024

กฎหมายคุม้ ครองแรงงานที่ควรรู ้ โดย สํานักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานกรุ งเทพมหานคร พื้นที่ 8 พระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ฀เป็ นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความสงบเรี ยบร้อย หากนายจ้างไม่ปฏิบตั ิมีโทษทางอาญา ฀เป็ นกฎหมายที่กาํ หนดมาตรฐานขั้นตํ่า เช่น การกําหนดอัตราค่าจ้างขั้นตํ่า การกําหนด สิ ทธิต่างๆ ที่นายจ้างลูกจ้างต้องปฏิบตั ิต่อกัน ฀หากนายจ้างและลูกจ้างมีขอ้ ตกลงร่ วมกันที่กาํ หนดหน้าที่ระหว่างกันตํ่ากว่าที่กฎหมาย คุม้ ครองแรงงานกําหนด ข้อตกลงนั้นเป็ นโมฆะ ใช้บงั คับไม่ได้ การจ้างแรงงาน การจ้างงาน เป็ นไปตามหลักความพึงพอใจของทั้งฝ่ ายนายจ้างและลูกจ้างไม่สามารถบังคับได้ วิธีการ 1. ทําสัญญาจ้างเป็ นหนังสื อ 2. เขียนใบสมัครงาน 3. การจ้างด้วยวาจา อายุ ตามกฎหมายคุม้ ครองแรงงานการจ้างงานเริ่ มตั้งแต่อายุ 15 ปี ขึ้นไป จนถึง อายุ 60 ปี ***ห้ามนายจ้างจ้างเด็กอายุต่าํ กว่า 15 ปี เป็ นลูกจ้าง ช่วงอายุต้ งั แต่ 15 ปี แต่ไม่ถึง 18 ปี บริ บูรณ์ ถือเป็ นการจ้างแรงงานเด็ก ต้องขออนุญาตการทํางาน ต่อสํานักงานแรงงานในพื้นที่ที่ลูกจ้างทํางานภายใน 15 วัน นับแต่วนั เข้าทํางาน ถ้าไม่แจ้งมีความ ผิดตามกฎหมาย เมื่อลูกจ้างไม่ทาํ งานแล้วต้องแจ้งออกภายใน 7 วันนับแต่วนั ที่ออกจากงาน การเรี ยกหรื อรับหลักประกัน ฀ห้ามเรี ยกหรื อรับหลักประกันการทํางานหรื อหลักประกันความเสี ยหาย ในการทํางาน ได้แก่ เงิน ทรัพย์สินอื่น(สมุดเงินฝากประจําหรื อหนังสื อคํ้าประกันของธนาคาร) หรื อคํ้าประกันด้วยบุคคล ฀ข้อยกเว้น คือ ลักษณะหรื อสภาพของงานต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเงินหรื อทรัพย์สิน ของนายจ้าง ฀ต้องคืนหลักประกันพร้อมดอกเบี้ย ถ้ามี ภายใน 7 วันนับแต่วน ั ที่นายจ้าง เลิกจ้างหรื อ วันที่ลูกจ้างลาออก หรื อวันที่สญ ั ญาประกัน สิ้ นอายุ งานหรื อลักษณะงานที่สามารถเรี ยกหรื อรับหลักประกัน 1. งานสมุห์บญั ชี 2. งานพนักงานเก็บและหรื อจ่ายเงิน 3. งานเกี่ยวกับ เพชร พลอย เงิน ทองคํา ทองคําขาว และไข่มุก 4. งานเฝ้ าหรื อดูแลสถานที่หรื อทรัพย์สินของนายจ้าง 5. งานติดตามหรื อเร่ งรัดหนี้สิน 6. งานควบคุมหรื อรับผิดชอบยานพาหนะ งานหรื อลักษณะงานที่สามารถเรี ยกหรื อรับหลักประกัน (ต่อ) 7. งานที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการคลังสิ นค้า ซื้ อขาย แลกเปลี่ยน ให้เช่าทรัพย์ ให้เช่าซื้อ ให้กยู้ มื รับฝากทรัพย์ รับจํานอง รับจํานํา รับประกันภัย รับโอน หรื อ รับจัดส่ งเงิน หรื อการธนาคาร ทั้งนี้ เฉพาะลูกจ้างซึ่งเป็ นผูค้ วบคุมเงินหรื อทรัพย์สิน เพื่อการที่วา่ นั้น สิ ทธิตามกฎหมาย 1. เวลาทํางานปกติ ให้ลูกจ้างทํางานทัว่ ไปไม่เกิน 8 ชัว่ โมง/วัน หรื อตามที่นายจ้าง ลูกจ้างตกลงกัน และไม่เกิน 48 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ให้ลูกจ้างที่ทาํ งานที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพและความปลอดภัยแก่ลูกจ้าง ไม่เกิน 7 ชัว่ โมง/วัน และไม่เกิน 42 ชัว่ โมง/สัปดาห์ (งานที่ทาํ ใต้ดิน ใต้น้ าํ ในถํ้า ในอุโมงค์ หรื อในที่อบั อากาศ งานเชื่อมโลหะงานผลิตสารเคมีอนั ตราย) 2.เวลาพัก ระหว่างการทํางานปกติ ไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมง/วัน หลังจากลูกจ้างทํางานติดต่อกันมาแล้วไม่เกิน 5 ชัว่ โมง ติดต่อกัน นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าให้มีเวลาพักครั้งหนึ่งน้อยกว่า 1 ชัว่ โมงได้ แต่เมื่อรวมกันแล้ววันหนึ่งต้องไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมง ก่อนการทํางานล่วงเวลา กรณี ให้ลูกจ้างทํางานล่วงเวลาไม่นอ้ ยกว่า 2 ชัว่ โมง ต้องให้ลูกจ้างพักก่อนทํางานล่วงเวลา ไม่นอ้ ยกว่า 20 นาที 3. วันหยุด วันหยุดประจําสัปดาห์ ไม่นอ้ ยกว่า 1 วัน /สัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี ไม่นอ้ ยกว่า 13 วัน/ปี วันหยุดพักผ่อนประจําปี ไม่นอ้ ยกว่า 6 วันทํางาน/ปี สําหรับลูกจ้างที่ทาํ งานติดต่อกันมาครบ 1 ปี 4. การทํางานล่วงเวลา/การทํางานในวันหยุด หมายความว่า การทํางานนอกหรื อเกินเวลาทํางานปกติ หรื อเกินชัว่ โมงทํางานในแต่ละวัน ที่นายจ้างลูกจ้างตกลงกันในวันทํางานหรื อวันหยุด แล้วแต่กรณี ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทํา งานล่วงเวลาในวันทํางาน เว้นแต่ได้รับความยินยอม จากลูกจ้างก่อนเป็ นคราว ๆ ไป ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทํางานในวันหยุด เว้นแต่กรณี งานที่ตอ้ งทําติดต่อกันไป ถ้าหยุด จะเสี ยหาย หรื อเป็ นงานฉุกเฉิ น กิจการโรงแรม งานขนส่ ง ร้านอาหาร นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทํางานในวันหยุดได้ การทํางานล่วงเวลา ทํางานในวันหยุด ล่วงเวลาในวันหยุด รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 36 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ลูกจ้างเด็กห้ามทํางานล่วงเวลา และห้ามทํางานเวลา 22.00-06.00 น. วันลาป่ วย 5. วันลา ลูกจ้างลาป่ วยได้เท่าที่ป่วยจริ ง การลาป่ วยตั้งแต่ 3 วันทํางานขึ้นไป นายจ้างอาจให้ลูกจ้าง แสดงใบรับรองแพทย์ วันลากิจ ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจําเป็ นได้ ปี หนึ่งไม่เกิน 3 วันทํางานโดยได้รับค่าจ้าง วันลาทําหมัน ลูกจ้างมีสิทธิเพื่อทําหมันตามที่แพทย์กาํ หนดและออกใบรับรอง ฀ วันลารับราชการทหาร 5. วันลา (ต่อ) ลูกจ้างลาเพื่อรับราชการทหาร สําหรับระดมพลตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร ฀ วันลาคลอดบุตร ลูกจ้างหญิงมีครรภ์ลาเพื่อคลอดบุตรได้ครรภ์หนึ่งไม่เกิน 98 วัน ฀ วันลาเพื่อฝึ กอบรม ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อการฝึ กอบรมหรื อพัฒนาความรู ้เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการทํางาน ได้ *** การลาทุกประเภทต้องแจ้งหรื อเขียนใบลาต่อนายจ้าง/ฝ่ ายบุคคล/บุคคลที่นายจ้าง มอบหมายทุกครั้ง 6. ค่าตอบแทนในการทํางาน / ค่าจ้างในวันลา ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างในวัน ลาป่ วย เท่ากับค่าจ้างในวันทํางาน ปี หนึ่งไม่เกิน 30 วันทํางาน ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างที่ลาทําหมันตามที่ใบรับรองแพทย์สงั่ ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างที่ลารับราชการทหาร เท่ากับค่าจ้าง ในวันทํางาน ปี หนึ่งไม่เกิน 60 วัน ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างที่ลาคลอดบุตร เท่ากับค่าจ้างในวันทํางาน ตลอดระยะเวลาที่ลา แต่ไม่เกิน 45 วัน ค่าล่วงเวลาในวันทํางาน ไม่นอ้ ยกว่า 1.5 เท่า ของอัตราค่าจ้างต่อชัว่ โมง 6. ค่าตอบแทนในการทํางาน (ต่อ) ค่าทํางานในวันหยุด ไม่นอ้ ยกว่า 1 เท่า ของอัตราค่าจ้างต่อชัว่ โมงในวันทํางานตามจํานวนชัว่ โมง ที่ทาํ สําหรับลูกจ้างซึ่ งมีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด ไม่นอ้ ยกว่า 2 เท่า ของอัตราค่าจ้าง ต่อ ชัว่ โมงในวันทํางานตามจํานวนชัว่ โมงที่ทาํ สําหรับลูกจ้างซึ่ งไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ไม่นอ้ ยกว่า 3 เท่า ของอัตราค่าจ้างต่อชัว่ โมงในวันทํางานตามจํานวนชัว่ โมงที่ทาํ 7. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนในการทํางาน จ่ายให้แก่ลูกจ้างชาย/หญิงเท่าเทียมกัน เป็ นเงินไทย จ่าย ณ ที่ทาํ งานของลูกจ้าง ไม่นอ้ ยกว่า 1 ครั้ง/เดือน กรณี เลิกจ้างต้องจ่ายภายใน 3 วันนับแต่เลิกจ้าง 8. การหักค่าตอบแทนในการทํางาน นายจ้างจะหักค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทํางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลา ในวันหยุดไม่ได้ ยกเว้น ชําระภาษี ชําระค่าบํารุ งสหภาพแรงงาน ชําระหนี้สินสหกรณ์ออมทรัพย์ เป็ นเงินประกัน หรื อชดใช้ค่าเสี ยหายแก่นายจ้าง โดยได้รับความยินยอมเป็ นหนังสื อ ลงลายมือชื่อลูกจ้าง 8. การหักค่าตอบแทนในการทํางาน (ต่อ) เป็ นเงินสะสมเกี่ยวกับกองทุนเงินสะสม โดยการหักดังกล่าวข้างต้นต้องไม่เกิน 10 % หรื อรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 1 ใน 5 ของเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับ เว้นแต่ได้รับความยินยอมเป็ นหนังสื อลงลายมือชื่อลูกจ้าง การพักงาน นายจ้างจะสัง่ พักงานลูกจ้างเพื่อสอบสวนความผิดได้ ต่อเมื่อได้กาํ หนดอํานาจพักงาน ไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน หรื อ ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง ต้องมีคาํ สัง่ พักงานเป็ นหนังสื อระบุความผิดและกําหนดระยะเวลาพักงานไม่เกิน 7 วัน โดยต้องแจ้งให้ลูกจ้างทราบก่อน จ่ายเงินค่าจ้างไม่นอ้ ยกว่า 50 % ของค่าจ้างในวันทํางานที่ลูกจ้างได้รับก่อนถูกพักงาน หากผลการสอบสวนปรากฏว่าลูกจ้างไม่มีความผิด ให้จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างเต็มจํานวน นับแต่ วันที่ถูกพักงาน พร้อมดอกเบี้ย 15 %ต่อปี การหยุดกิจการชัว่ คราว กรณี นายจ้างจําเป็ นต้องหยุดกิจการทั้งหมดหรื อบางส่ วนเป็ นการชัว่ คราว โดยมิใช่เหตุสุดวิสยั นายจ้างต้องแจ้งให้ลูกจ้างและพนักงานตรวจแรงงาน ทราบล่วงหน้าเป็ นหนังสื อก่อนวันเริ่ มหยุดกิจการไม่นอ้ ยกว่า 3 วันทําการ และ ต้องจ่ายเงินให้ลูกจ้างไม่นอ้ ยกว่า 75 % ของค่าจ้างในวันทํางานที่ลูกจ้างได้รับ ก่อนการหยุดกิจการ ตลอดระยะเวลาที่นายจ้างไม่ได้ให้ลูกจ้างทํางาน 9. การลาออก การเลิกจ้าง การลาออก ใช้เฉพาะลูกจ้างเท่านั้น และต้องแจ้งล่วงหน้าให้นายจ้างทราบ เมื่อถึงหรื อก่อนถึง งวดการจ่ายค่าจ้างคราวหนึ่ง เพื่อให้มีผลในงวดการจ่ายค่าจ้างถัดไป ในระหว่างที่ยนื่ ใบลาออก/ แจ้งขอลาออก ต้องมาทํางานจนถึงวันที่แจ้งขอลาออก และไม่มีสิทธิได้รับค่าชดเชย การเลิกจ้าง คือ การกระทําใดที่นายจ้างไม่ให้ลูกจ้างทํางานต่อไปและไม่จ่ายค่าจ้างให้ไม่วา่ เป็ น เพราะเหตุสิ้นสุ ดสัญญาจ้างหรื อเหตุอื่นใด ไม่วา่ จะทําเป็ นหนังสื อ บอกกล่าวด้วยวาจาก็ได้ และ ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าหนึ่งรอบเงินเดือน มีสิทธิได้รับค่าชดเชย 10.การเลิกจ้าง และค่าชดเชย การบอกเลิกสัญญาจ้าง กรณี กาํ หนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนไม่ตอ้ งบอกกล่าวล่วงหน้า กรณี ไม่มีกาํ หนดระยะเวลาการจ้าง นายจ้าง/ลูกจ้างบอกกล่าวล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 1 งวด การจ่ายค่าจ้าง สัญญาจ้างทดลองงานเป็ นสัญญาจ้างที่ไม่มีกาํ หนดระยะเวลา 10.การเลิกจ้าง และค่าชดเชย (ต่อ) ค่าชดเชย เกิดขึ้นเมื่อนายจ้าง/บอกเลิกจ้างลูกจ้าง โดยลูกจ้างไม่ได้การกระทําความผิด อย่างร้ายแรง รวมถึงการเกษียณอายุดว้ ย นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยดังนี้ 1. ลูกจ้างซึ่ งทํางานติดต่อกันครบ 120 วันแต่ไม่ครบ 1 ปี จ่ายไม่นอ้ ยกว่าอัตราค่าจ้างสุ ดท้าย 30 วัน 2. ลูกจ้างซึ่ งทํางานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี จ่ายไม่นอ้ ยกว่าอัตราค่าจ้างสุ ดท้าย 90 วัน 3. ลูกจ้างซึ่ งทํางานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี จ่ายไม่นอ้ ยกว่าอัตราค่าจ้างสุ ดท้าย 180 วัน 4. ลูกจ้างซึ่ งทํางานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี จ่ายไม่นอ้ ยกว่าอัตราค่าจ้างสุ ดท้าย 240 วัน 5. ลูกจ้างซึ่ งทํางานติดต่อกันครบ 10 ปี ขึ้นไป จ่ายไม่นอ้ ยกว่าอัตราค่าจ้างสุ ดท้าย 300 วัน 6. ลูกจ้างซึ่ งทํางานติดต่อกันครบ 20 ปี ขึ้นไป จ่ายไม่นอ้ ยกว่าอัตราค่าจ้างสุ ดท้าย 400 วัน การไม่จ่ายค่าชดเชย มีกรณี ดงั ต่อไปนี้ 1. ทุจริ ตต่อหน้าที่/กระทําความผิดอาญาต่อนายจ้าง 2. จงใจทําให้นายจ้างได้รับความเสี ยหาย 3. ประมาทเลินเล่อเป็ นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสี ยหายอย่าง ร้ายแรง 4. ฝ่ าฝื นข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน ระเบียบ คําสัง่ นายจ้างอันชอบ ด้วยกฎหมายและเป็ นธรรม นายจ้างได้ตกั เตือนเป็ นหนังสื อแล้ว ถ้าร้ายแรงไม่ตอ้ งตักเตือน หนังสื อเตือนมีผล 1 ปี นับแต่วนั ทําผิด 5. ละทิ้งหน้าที่เป็ นเวลา 3 วันทํางานติดต่อกันไม่วา่ จะมีวนั หยุดคัน่ หรื อ ไม่กต็ ามโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร 6. ได้รับโทษตามคําพิพากษาถึงที่สุดให้จาํ คุก ***ถ้าเข้าเงื่อนไขข้างต้นนี้ นายจ้างเลิกจ้างได้ทนั ที ไม่ตอ้ งแจ้งให้ทราบล่วงหน้าและไม่ตอ้ งจ่ายค่าชดเชย ค่าชดเชยพิเศษ (ย้ายสถานประกอบกิจการ) กรณี นายจ้างประสงค์ยา้ ยสถานประกอบกิจการแห่งหนึ่งแห่งใด ไปตั้ง ณ สถานที่ใหม่ หรื อย้ายไปยังสถานที่อื่นของนายจ้าง ให้นายจ้างปิ ดประกาศแจ้งให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้า ในที่เปิ ดเผย ให้ลูกจ้างเห็นได้อย่างชัดเจน ติดต่อกันเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน ก่อนวัน ย้ายสถานประกอบกิจการ และประกาศนั้นต้องมีขอ้ ความชัดเจนว่าลูกจ้างคนใดจะต้องถูก ย้ายไปสถานที่ใดและเมื่อใด กรณี นายจ้างไม่ปิดประกาศ ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าแก่ ลูกจ้างที่ไม่ประสงค์จะไปทํางาน ณ สถานประกอบกิจการแห่งใหม่ เท่ากับค่าจ้างอัตรา สุ ดท้าย 30 วัน ค่าชดเชยพิเศษ (ย้ายสถานประกอบกิจการ) ต่อ หากลูกจ้างคนใดเห็นว่าการย้ายสถานประกอบกิจการดังกล่าวมีผลกระทบสําคัญต่อการ ดํารงชีวติ ตามปกติของลูกจ้างและครอบครัว และไม่ประสงค์จะไปทํางาน ณ สถาน ประกอบกิจการแห่งใหม่ ต้องแจ้งให้นายจ้างทราบเป็ นหนังสื อภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่ ปิ ดประกาศหรื อวันที่ยา้ ยสถานประกอบกิจการ โดยลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษไม่นอ้ ยกว่าอัตราค่าชดเชยที่ลูกจ้างพึงมีสิทธิได้รับ ตามมาตรา 118 การเกษียณอายุ ในกรณี ที่มีการตกลงกันหรื อกําหนดการเกษียณอายุไว้ หรื อกําหนดไว้ เกินกว่า 60 ปี ให้ลูกจ้างที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป มีสิทธิแสดงเจตนาเกษียณอายุได้ โดยแสดงเจตนาต่อนายจ้าง หากไม่มีการกําหนดไว้ในสัญญาจ้าง/ข้อบังคับฯ ให้ลูกจ้างที่มีอายุครบ 60 ปี แจ้งขอ เกษียณอายุต่อนายจ้าง และทํางานให้นายจ้างจนครบ 30 วันนับแต่วนั ที่แจ้ง นายจ้างต้องจ่ายค่า ชดเชยตามกฎหมาย หากท่านมีขอ้ สงสัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ติดต่อสอบถามได้ที่ สํานักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานกรุ งเทพมหานครพื้นที่ 8 (ภายในกระทรวงมหาดไทย) หรื อ โทร. 02-2211893-4 / 02-2210731