ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก สถานีรถไฟแม่จาง)

รายชื่อสถานีรถไฟ ที่หยุดรถ และป้ายหยุดรถ ในเส้นทางรถไฟสายเหนือ ที่หยุดรถ/ป้ายหยุดรถ หมายถึง สถานีรถไฟที่ไม่มีอาคารสถานีและนายสถานีประจำ แต่อาจมีที่พักผู้โดยสารและที่ขายตั๋วแบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจถูกยุบเลิกหรือตั้งใหม่ได้ ที่หยุดรถบางที่อาจไม่มีรถหยุดเลยแม้แต่รถธรรมดา สำหรับสถานีทุกแห่ง รถธรรมดาจะหยุดทุกสถานี รถเร็ว จะหยุดเป็นบางสถานี รถด่วนและด่วนพิเศษ จะหยุดห่างขึ้นตามศักดิ์ของขบวน

รายชื่อสถานีรถไฟสายเหนือในปัจจุบัน

[แก้]
หมายเหตุ
  • เส้นทางช่วงสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ – รังสิต และช่วงสถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี – ลพบุรี จะเป็นแบบทางคู่
  • เส้นทางช่วงสถานีรถไฟรังสิต – ชุมทางบ้านภาชี จะเป็นแบบทางสาม
  • เส้นทางช่วงสถานีลพบุรี – สวรรคโลกและเชียงใหม่ จะเป็นแบบทางเดี่ยว
  • ตั้งแต่วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2566 รถไฟสายเหนือขบวนรถด่วนพิเศษ ขบวนรถด่วน และขบวนรถเร็วจะเริ่มต้นและสิ้นสุดให้บริการที่สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์แทนสถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง)

ช่วงสถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง) – ชุมทางบ้านภาชี

[แก้]

ช่วงสถานีชุมทางบ้านภาชี – เชียงใหม่

[แก้]
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ รหัสสถานี ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี ที่ตั้ง หมายเหตุ
เลข ตัวย่อ ตำบล อำเภอ จังหวัด
ชุมทางบ้านภาชี – เชียงใหม่
ชุมทางบ้านภาชี 1036 ภช. 89.95 กม. 1 ภาชี ภาชี พระนครศรีอยุธยา

มีทางแยก ทางตรงมุ่งไปสายอีสาน ที่สถานีหนองกวย (นก.) ทางแยกมุ่งหน้าไปสถานีหนองวิวัฒน์ และสุดเขตทางสามที่นี่

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบ้านภาชี (นตท.ภช.)
ดอนหญ้านาง 1224 ญา. 93.58 กม. ป้ายหยุดรถ ดอนหญ้านาง
หนองวิวัฒน์ 1037 วิ. 96.44 กม. 3 หนองขนาก ท่าเรือ
บ้านปลักแรด 1038 แด. 99.16 กม. ที่หยุดรถ ท่าเจ้าสนุก
ท่าเรือ 1039 ทร. 102.73 กม. 1 ท่าเรือ
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางท่าเรือ (นตท.ทร.)
บ้านหมอ 1041 มอ. 108.78 กม. 1 บ้านหมอ บ้านหมอ สระบุรี
หนองโดน 1045 โด. 116.56 กม. 2 หนองโดน หนองโดน
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางหนองโดน (นตท.โด.)
บ้านกลับ 1047 บก. 122.727 กม. 3 บ้านกลับ
จุดเริ่มต้นโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ช่วงลพบุรี-ปากน้ำโพ สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านกลับ – โคกกะเทียม โดยเป็นทางวิ่งยกระดับความยาว 19 กม. วิ่งไปบนแนวเส้นทางถนนเลี่ยงเมืองลพบุรี (ทล.366) จากนั้นเส้นทางจะกลับสู่แนวเส้นทางเดิมที่สถานีโคกกะเทียม
บ้านป่าหวาย 1048 ปว. 127.44 กม. 3 ป่าตาล เมืองลพบุรี ลพบุรี
ลพบุรี 1050 ลบ. 132.81 กม. 1 ท่าหิน

สุดเขตทางคู่ช่วงบ้านกลับ - ลพบุรี เริ่มทางเดี่ยวช่วงลพบุรี - ท่าแค และเป็นสถานีสุดท้ายในเส้นทางสายเหนือที่ใช้สัญญาณไฟสีชนิดบังคับด้วยคอมพิวเตอร์ ต่อจากนี้จะใช้ไฟสีชนิดบังคับด้วยแผงสวิตช์

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางลพบุรี (นตท.ลบ.)
ท่าแค 1051 ทแ. 137.475

กม.

3 ท่าแค

ตำบลท่าแคและตำบลถนนใหญ่ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3015 เป็นเส้นแบ่งเขตตำบล อาคารสถานีจากจุดกึ่งกลางนับไปทางด้านเหนือ เป็นเขตตำบลท่าแค[1] อาคารสถานีจากจุดกึ่งกลางนับไปทางด้านใต้ เป็นเขตตำบลถนนใหญ่[2]

  • จุดเริ่มต้นโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ลพบุรี – ปากน้ำโพ สัญญาที่ 2 ช่วงท่าแค – ปากน้ำโพ
ถนนใหญ่
โคกกะเทียม 1053 คท. 144.250 กม. 3 โคกกะเทียม
จุดสิ้นสุดโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ช่วงลพบุรี – ปากน้ำโพ สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านกลับ – โคกกะเทียม
หนองเต่า 1055 นต. 150.040 กม. 3 หนองเต่า บ้านหมี่
จุดเริ่มต้นของทางรถไฟสายหนองเต่า–เขาทับควาย (ปัจจุบันยกเลิกแล้ว) สำหรับขนส่งแร่เหล็กจากเขาทับควาย ผ่านตำบลหนองเต่า ตำบลพุคา อำเภอบ้านหมี่ และตำบลห้วยโป่ง อำเภอโคกสำโรง[3] โดยเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2491[4]
หนองทรายขาว 1056 ซข. 154.901 กม. 3 หนองทรายขาว
บ้านหมี่ 1058 บม. 161.191 กม. 1 บ้านหมี่
ห้วยแก้ว 1059 หก. 165.896 กม. ที่หยุดรถ เชียงงา

ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตตำบลเชียงงา[5] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือ แบ่งเขตกับตำบลสายห้วยแก้ว โดยพื้นที่บริเวณรางหลีกอยู่ในเขตตำบลสายห้วยแก้ว

ยกเลิกสถานีรถไฟห้วยแก้ว กม.ที่ 165.940 และให้เปิดใช้ที่หยุดรถห้วยแก้ว กม. 165.896 แทน ในวันที่ 15 พฤษภาคม 2567 เวลา 6.00 น. เป็นต้นไป และยกเลิกการขอและให้ทางสะดวกระหว่างสถานีบ้านหมี่-ห้วยแก้ว-จันเสน
ไผ่ใหญ่ 1060 ผญ. 170.281 กม. ที่หยุดรถ ไผ่ใหญ่
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2519[6]
โรงเรียนจันเสน 1229 รจ. 172.90 กม. ป้ายหยุดรถ จันเสน ตาคลี นครสวรรค์
จันเสน 1061 จส. 173.780 กม. 2
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางจันเสน (นตท.จส.)
บ้านกกกว้าว 1062 ว้. 176.63 กม. ป้ายหยุดรถ พรหมนิมิต
ช่องแค 1063 ชค. 180.158 กม. 1 ช่องแค
ทะเลหว้า 1065 ทห. 187.37 กม. ที่หยุดรถ ตาคลี
ในอนาคตเมื่อเส้นทางรถไฟทางคู่แล้วเสร็จ จะถูกยกเลิกใช้งาน
โพนทอง 1066 โพ. 188.622 กม. 2
บ้านตาคลี 1067 ตล. 192.472 กม. 1
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบ้านตาคลี (นตท.ตล.)
ดงมะกุ 1069 ดง. 198.777 กม. 3
หัวหวาย 1070 หว. 204.132 กม. 3 หัวหวาย
หนองโพ 1072 นพ. 211.618 กม. 3 หนองโพ
หัวงิ้ว 1074 หง. 217.291 กม. 3 เนินมะกอก พยุหะคีรี
เนินมะกอก 1076 มก. 224.867 กม. 3
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางเนินมะกอก (นตท.มก.)
เขาทอง 1079 ขท. 235.544 กม. 3 เขาทอง
นครสวรรค์ 1082 นว. 245.968 กม. 1 หนองปลิง เมืองนครสวรรค์
  • ฝ่ายการเดินรถ
    • งานควบคุมการเดินรถเขตนครสวรรค์ (ผคร.นว.)
    • สารวัตรงานเดินรถแขวงนครสวรรค์ (สดร.นว.)
  • ฝ่ายการช่างกล
    • ที่ทำการพนักงานตรวจรถนครสวรรค์ (พตร.นว.)
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • วิศวกรกำกับการกองบำรุงทางเขตนครสวรรค์ (วบข.นว.)
    • สารวัตรแขวงบำรุงทางนครสวรรค์ (สบท.นว.)
  • ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
    • สารวัตรแขวงบำรุงรักษาอาณัติสัญญาณนครสวรรค์ (สสญ.นว.)
  • สำนักงานแพทย์รถไฟ
    • ที่ทำการนายแพทย์เขตนครสวรรค์ (นพข.นว.)
ปากน้ำโพ 1083 ปพ. 250.617 กม. 1 ปากน้ำโพ
  • ฝ่ายการช่างกล
    • สารวัตรแขวงรถพ่วงปากน้ำโพ (สรพ.ปพ.)
  • สำนักงานแพทย์รถไฟ
    • ที่ทำการนายแพทย์เขตปากน้ำโพ (นพข.ปพ.)
  • มีทางแยกเข้าท่าข้าวกำนันทรง
  • จุดสิ้นสุดโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ลพบุรี – ปากน้ำโพ สัญญาที่ 2 ช่วงท่าแค-ปากน้ำโพ
  • ในอนาคตจะเป็นจุดเริ่มต้นโครงการรถไฟทางคู่เฟส 2 ช่วงปากน้ำโพ – เด่นชัย
บึงบอระเพ็ด 1226 เพ. 257.15 กม. 3 เกรียงไกร
เป็นสถานีที่ตั้งขึ้นใหม่ในวันที่ 9 ตุลาคม 2532[7] มีชื่อตามบึงบอระเพ็ดที่อยู่ใกล้เคียง
ทับกฤช 1084 ทก. 263.68 กม. 2 ทับกฤช ชุมแสง
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางทับกฤช (นตท.ทก.)
คลองปลากด 1086 ปก. 270.87 กม. 3
ชุมแสง 1088 ชส. 280.29 กม. 1 ชุมแสง
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางชุมแสง (นตท.ชส.)
วังกร่าง 1091 กา. 290.24 กม. 3 เนินมะกอก บางมูลนาก พิจิตร
บางมูลนาก 1093 นา. 297.03 กม. 1 บางมูลนาก
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบางมูลนาก (นตท.นา.)
หอไกร 1095 ไก. 303.50 กม. 3 หอไกร
ดงตะขบ 1097 ดข. 309.87 กม. 3 บางไผ่
ตะพานหิน 1099 ตห. 319.00 กม. 1 ตะพานหิน ตะพานหิน
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • สารวัตรงานเครื่องกลบำรุงทางหนักตะพานหิน (สกน.ตห.)
    • สารวัตรแขวงบำรุงทางตะพานหิน (สบท.ตห.)
    • ที่ทำการนายตรวจทางตะพานหิน (นตท.ตห.)
  • ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
    • ที่ทำการนายตรวจสายตะพานหิน (นตส.ตห.)
ห้วยเกตุ 1101 ยต. 324.91 กม. 3 งิ้วราย
หัวดง 1103 หด. 332.60 กม. 2 หัวดง เมืองพิจิตร
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางหัวดง (นตท.หด.)
วังกรด 1105 วร. 339.36 กม. 2 บ้านบุ่ง
พิจิตร 1107 พจ. 346.79 กม. 1 ในเมือง
ท่าฬ่อ 1109 ทฬ. 354.26 กม. 3 ท่าฬ่อ
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางท่าฬ่อ (นตท.ทฬ.)
บางกระทุ่ม 1111 ทม. 362.22 กม. 2 บางกระทุ่ม บางกระทุ่ม พิษณุโลก
แม่เทียบ 1112 แท. 366.21 กม. 3
บ้านใหม่ 1114 บห. 375.31 กม. 3 วัดพริก เมืองพิษณุโลก
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบ้านใหม่ (นตท.บห.)
บึงพระ 1116 บะ. 381.87 กม. 1 บึงพระ
เป็นต้นทางสำหรับรถบรรทุกน้ำมันจากแหล่งสิริกิติ์เพื่อส่งไปที่โรงกลั่นน้ำมันบางจาก
พิษณุโลก 1118 พล. 389.28 กม. 1 ในเมือง
  • เป็นสถานีสุดท้ายในเส้นทางสายเหนือที่ใช้ประแจกลไฟฟ้าชนิดตู้ควบคุมพร้อมเครื่องทางสะดวก (รีเลย์)
  • ฝ่ายการช่างกล
    • ที่ทำการพนักงานตรวจรถพิษณุโลก (พตร.พล.)
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • สารวัตรแขวงบำรุงทางพิษณุโลก (สบท.พล.)
    • ที่ทำการนายตรวจทางพิษณุโลก (นตท.พล.)
  • ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
    • ที่ทำการนายตรวจสายพิษณุโลก (นตส.พล.)
  • สำนักงานแพทย์รถไฟ
    • ที่ทำการพยาบาลพิษณุโลก (พยบ.พล.)
    • อาณาบาลเขตพิษณุโลก (ณบข.พล.)
บ้านเต็งหนาม 1119 เห. 393.75 กม. 3 หัวรอ
เป็นสถานีแรกในเส้นทางสายเหนือที่ใช้ประแจกลสายลวด-สัญญาณหางปลา
บ้านตูม 1121 ตม. 400.00 กม. 3 ปากโทก
แควน้อย 1122 คน. 405.31 กม. 3 หอกลอง พรหมพิราม
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางแควน้อย (นตท.คน.)
พรหมพิราม 1125 พห. 414.50 กม. 2 พรหมพิราม
หนองตม 1127 หต. 423.20 กม. 2 วงฆ้อง

ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหนองตม ตำบลวงฆ้อง[8] ในเขตเทศบาลตำบลวงฆ้อง

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางหนองตม (นตท.หต.)
บ้านบุ่ง 1130 บง. 432.75 กม. 3 ศรีภิรมย์
บ้านโคน 1131 บค. 437.41 กม. 3 บ้านโคน พิชัย อุตรดิตถ์
พิชัย 1134 พย. 447.55 กม. 1 ในเมือง
ไร่อ้อย 1136 รอ. 453.98 กม. 3 ไร่อ้อย
มีทางแยกไปขนฟืนที่ ตำบลนายาง อำเภอพิชัย (ปัจจุบันเลิกใช้งาน)
ชุมทางบ้านดารา 1137 ดร. 458.31 กม. 3 บ้านดารา
  • มีทางแยกไปสถานีสวรรคโลก
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบ้านดารา (นตท.ดร.)
  • ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
    • ที่ทำการนายตรวจสายบ้านดารา (นตส.ดร.)
ท่าสัก 1144 าส. 461.80 กม. 2 ท่าสัก
ตรอน 1146 ตอ. 469.86 กม. 1 วังแดง ตรอน
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางตรอน (นตท.ตอ.)
วังกะพี้ 1148 วก. 476.82 กม. 3 วังกะพี้ เมืองอุตรดิตถ์
เคยมีทางแยกไปโรงงานน้ำตาลอุตรดิตถ์ (ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว)
อุตรดิตถ์ 1150 อด. 485.17 กม. 1 ท่าอิฐ
  • ฝ่ายการเดินรถ
    • งานควบคุมการเดินรถเขตอุตรดิตถ์ (ผคร.อด.)
    • สารวัตรงานเดินรถแขวงอุตรดิตถ์ (สดร.อด.)
  • ฝ่ายการช่างกล
    • วิศวกรกำกับการกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์ (วกข.อด.)
    • สารวัตรแขวงรถจักรอุตรดิตถ์ (สรจ.อด.)
    • สารวัตรแขวงโรงงานอุตรดิตถ์ (สรง.อด.)
    • ที่ทำการพนักงานตรวจรถอุตรดิตถ์ (พตร.อด.)
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการหน่วยสะพานอุตรดิตถ์ (นสพ.อด.)
    • สารวัตรแขวงบำรุงทางอุตรดิตถ์ (สบท.อด.)
  • สำนักงานแพทย์รถไฟ
    • ที่ทำการพยาบาลอุตรดิตถ์ (พยบ.อด.)
ศิลาอาสน์ 1151 ศล. 487.52 กม. 1

พื้นที่ทั้งสถานีตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์[9] โดยยึดตามหลักเขตเทศบาลและหลักเขตตำบล[10]

  • เป็นย่านสับเปลี่ยนรถไฟ ย่านสินค้า จุดตัดตู้โบกี้รถไฟขึ้นสู่ภาคเหนือ ศูนย์รวบรวมตู้สินค้า(Container Yard) จุดสิ้นสุดสถานีรถไฟทางราบ และสถานีเริ่มต้นการส่งห่วงตราทางสะดวก
  • จุดรับน้ำมันเชื้อเพลิงของขบวนรถ
  • ฝ่ายการเดินรถ
    • กองจัดการเดินรถเขต 3 (จดข.3) ศูนย์ภาคเหนือ
    • ที่ทำการพนักงานการเดินรถ 10 (พ.การเดินรถ 10 ศิลาอาสน์)
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • วิศวกรอำนวยการศูนย์บำรุงทางสายเหนือ (วอน.)
    • ศูนย์บำรุงทางภาคเหนือ
    • ที่ทำการนายตรวจทางศิลาอาสน์ (นตท.ศล.)
  • ฝ่ายการเดินรถ
    • กองจัดการเดินรถเขต 3 (จดข.3) ศูนย์ภาคเหนือ
    • ที่ทำการพนักงานการเดินรถ 10 (พ.การเดินรถ 10 ศิลาอาสน์)
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • วิศวกรอำนวยการศูนย์บำรุงทางสายเหนือ (วอน.)
    • ศูนย์บำรุงทางภาคเหนือ
    • ที่ทำการนายตรวจทางศิลาอาสน์ (นตท.ศล.)
    • พนักงานสถานที่ศิลาอาสน์ (พสถ.ศล.)
  • ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
    • ที่ทำการนายตรวจสายศิลาอาสน์ (นตส.ศล.)
  • ฝ่ายการพาณิชย์
    • สารวัตรแขวงพาณิชย์ศิลาอาสน์ (สพณ.ศล.)
  • สำนักงานแพทย์รถไฟ
    • ที่ทำการนายแพทย์เขตศิลาอาสน์ (นพข.ศล.)
  • กองบังคับการตำรวจรถไฟ
    • สถานีตำรวจรถไฟศิลาอาสน์ (สร.ฟ.ศิลาอาสน์)
  • ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
    • ที่ทำการนายตรวจสายศิลาอาสน์ (นตส.ศล.)
  • ฝ่ายการพาณิชย์
    • สารวัตรแขวงพาณิชย์ศิลาอาสน์ (สพณ.ศล.)
  • สำนักงานแพทย์รถไฟ
    • ที่ทำการนายแพทย์เขตศิลาอาสน์ (นพข.ศล.)
  • กองบังคับการตำรวจรถไฟ
    • สถานีตำรวจรถไฟศิลาอาสน์ (สร.ฟ.ศิลาอาสน์)
ท่าเสา 1152 เส. 489.35 กม. ที่หยุดรถ
พื้นที่ทั้งสถานี (เดิม) ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์[9] โดยยึดตามหลักเขตเทศบาลและหลักเขตตำบล[10] เคยเป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ปัจจุบันถูกยุบเป็นที่หยุดรถแล้ว
บ้านด่าน 1154 บด. 497.56 กม. 3 บ้านด่านนาขาม
จุดเริ่มต้นสถานีรถไฟทางภูเขา
ปางต้นผึ้ง 1157 ปต. 509.36 กม. 3
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางปางต้นผึ้ง (นตท.ปต.)
- เข้าอุโมงค์ปางตูบขอบ ยาว 120.09 เมตร กม.ที่ 513.72-513.84
- เข้าอุโมงค์เขาพลึง ยาว 362.44 เมตร กม.ที่ 516.41-516.77
เขาพลึง 1159 ขง. 517.02 กม. ที่หยุดรถ ห้วยไร่ เด่นชัย แพร่
เข้าเขตจังหวัดแพร่
ห้วยไร่ 1160 หา. 521.48 กม. 3
ไร่เกล็ดดาว 1161 รล. 525.30 กม. ที่หยุดรถ
แม่พวก 1162 มพ. 528.22 กม. ที่หยุดรถ
เดิมเป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ปัจจุบันถูกยุบเป็นที่หยุดรถแล้ว
เด่นชัย 1164 ดช. 533.94 กม. 1 เด่นชัย
  • สถานีประจำจังหวัดแพร่
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • สารวัตรแขวงบำรุงทางเด่นชัย (สบท.ดช.)
    • ที่ทำการนายตรวจทางเด่นชัย (นตท.ดช.)
  • ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
    • ที่ทำการนายตรวจสายเด่นชัย (นตส.ดช.)
  • อนาคตสถานีนี้จะยกระดับเป็นสถานีชุมทาง (ชท.เด่นชัย)
  • จุดเริ่มต้นโครงการรถไฟทางคู่สายใหม่ เด่นชัย – เชียงราย – เชียงของ ระยะทาง 323 กม. (ปัจจุบันอยู่ระหว่างการก่อสร้าง)
ปากปาน 1165 ปา. 538.43 กม. 3 ไทรย้อย
แก่งหลวง 1167 กล. 546.94 กม. 3 แม่ปาน ลอง
ห้วยแม่ต้า 1169 วต. 554.42 กม. ที่หยุดรถ บ้านปิน
บ้านปิน 1172 บป. 563.86 กม. 2
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบ้านปิน (นตท.บป.)
  • ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
    • ที่ทำการนายตรวจสายบ้านปิน (นตส.บป.)
- เข้าอุโมงค์ห้วยแม่ลาน ยาว 130.20 เมตร กม.ที่ 574.04-574.17
ผาคัน 1176 ผน. 578.46 กม. 3 บ้านปิน ลอง แพร่
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางผาคัน (นตท.ผน.)
ผาคอ 1177 ผค. 581.22 กม. ที่หยุดรถ
เปิดเป็นสถานีในวันที่ 1 พฤษภาคม 2458 พร้อมกับการเปิดการเดินรถช่วงบ้านปิน – ผาคอ ระยะทาง 17 กิโลเมตร และยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2528[11]
ปางป๋วย 1180 ปย. 591.07 กม. 3 สบป้าด แม่เมาะ ลำปาง
เข้าเขตจังหวัดลำปาง, เขตตำบลสบป้าดและตำบลนาสัก ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านสบเติ๋น ตำบลสบป้าด[12][13] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านปางป๋วย ตำบลนาสัก
แม่จาง 1182 มจ. 600.33 กม. 3

กึ่งกลางของอาคารสถานีรถไฟแม่จางเป็นจุดแบ่งเขตของตำบลสบป้าด ตำบลแม่เมาะ และตำบลนาสัก[13] พื้นที่สถานีจึงอยู่ในพื้นที่ทั้ง 3 ตำบล ได้แก่ หมู่ 2 บ้านสบเติ๋น ตำบลสบป้าด[12] หมู่ 1 บ้านแม่จาง ตำบลนาสัก[14]และหมู่ 1 บ้านห้วยเป็ด ตำบลแม่เมาะ[15]

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางแม่จาง (นตท.มจ.)
นาสัก
แม่เมาะ
แม่เมาะ 1184 มม. 609.16 กม. 2 สบป้าด

เขตตำบลสบป้าดและตำบลแม่เมาะ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านสบเมาะ ตำบลสบป้าด[12][13] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านแม่เมาะสถานี ตำบลแม่เมาะ[15]

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางแม่เมาะ (นตท.มม.)
ห้วยรากไม้ 1185 รไ. 614.87 กม. ที่หยุดรถ
เขตตำบลสบป้าดและตำบลแม่เมาะ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารที่หยุดรถตั้งอยู่ในเขตหมู่ 5 บ้านห้วยรากไม้ ตำบลสบป้าด[12][13]
ศาลาผาลาด 1187 ผล. 622.20 กม. 3 แม่ทะ แม่ทะ
เขตตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะและตำบลพระบาท อำเภอเมืองลำปาง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 6 บ้านผาลาด ตำบลแม่ทะ[16] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านผาลาด ตำบลพระบาท[17]
แม่ทะ 1189 มท. 628.45 กม. 3
เขตตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะและตำบลพระบาท อำเภอเมืองลำปาง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตตำบลแม่ทะ[16] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลพระบาท[17]
หนองวัวเฒ่า 1192 วถ. 637.41 กม. 3 พระบาท เมืองลำปาง
เขตตำบลพระบาทและตำบลชมพู อำเภอเมืองลำปาง ใช้กึ่งกลางของคลองส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่วังแบ่งเขต อาคารสถานีและทางหลีกทั้งหมดตั้งอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านหนองวัวเฒ่า ตำบลพระบาท[17]
นครลำปาง 1193 ลป. 642.293 กม. 1 สบตุ๋ย
  • ฝ่ายการเดินรถ
    • ศูนย์ภาคเหนือ (ศอน.)
    • งานควบคุมการเดินรถเขตลำปาง (ผคร.ลป.)
    • สารวัตรงานเดินรถแขวงลำปาง (สดร.ลป.)
  • ฝ่ายการช่างกล
    • สารวัตรแขวงรถจักรลำปาง (สรจ.ลป.)
    • นายตรวจกลลำปาง (นตก.ลป.)
    • ที่ทำการพนักงานตรวจรถลำปาง (พตร.ลป.)
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • วิศวกรกำกับการกองบำรุงทางเขตลำปาง (วบข.ลป.)
    • สารวัตรแขวงบำรุงทางลำปาง (สบท.ลป.)
    • ที่ทำการนายตรวจทางลำปาง (นตท.ลป.)
  • ฝ่ายการอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม
    • สารวัตรแขวงบำรุงรักษาอาณัติสัญญาณลำปาง (สสญ.ลป.)
    • ที่ทำการนายตรวจสายลำปาง (นตส.ลป.)
  • สำนักงานแพทย์รถไฟ
    • ที่ทำการนายแพทย์เขตลำปาง (นพข.ลป.)
ห้างฉัตร 1196 หฉ. 654.859 กม. 3 ห้างฉัตร ห้างฉัตร
ปางม่วง 1198 ปม. 660.984 กม. 3
ห้วยเรียน 1199 ยเ. 665.090 กม. ที่หยุดรถ เวียงตาล
แม่ตานน้อย 1201 มต. 671.808 กม. 3
- เข้าอุโมงค์ขุนตาน ยาว 1352.10 เมตร กม.ที่ 681.57-682.93"
ขุนตาน 1204 ขน. 683.140 กม. 2 ทาปลาดุก แม่ทา ลำพูน

เข้าเขตจังหวัดลำพูน สถานีนี้มีที่พักของการรถไฟฯ สำหรับนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวอุทยานแห่งชาติดอยขุนตาน

เดิมชื่อสถานี "ขุนตาล"
ทาชมภู 1206 าช. 691.896 กม. 3
เดิมชื่อสถานี "บ้านทาชมภู"
ศาลาแม่ทา 1208 ลท. 700.686 กม. 3 ทาสบเส้า
หนองหล่ม 1212 งล. 713.018 กม. 3 ศรีบัวบาน เมืองลำพูน
เดิมชื่อสถานี "บ้านหนองหล่ม"
ลำพูน 1216 ลพ. 729.213 กม. 1 ในเมือง
เป็นต้นทาง/ปลายทาง ของของขบวนรถปูนซีเมนต์ของบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) ที่ 605/606 เพื่อไปส่งที่สถานีรถไฟหินลับ
ป่าเส้า 1218 ปส. 734.645 กม. 3 อุโมงค์
เดิมชื่อสถานี "ป่าเศร้า"
สารภี 1220 ภี. 742.789 กม. 3 ยางเนิ้ง สารภี เชียงใหม่
เข้าเขตจังหวัดเชียงใหม่ เดิมชื่อสถานี "ป่ายางเลิ้ง"
เชียงใหม่ 1222 ชม. 751.424 กม. 1 วัดเกต เมืองเชียงใหม่
สถานีสุดท้ายในเส้นทางสายเหนือ

ช่วงสถานีรถไฟชุมทางบ้านดารา – สวรรคโลก

[แก้]
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ รหัสสถานี ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี ที่ตั้ง หมายเหตุ
เลข ตัวย่อ ตำบล อำเภอ จังหวัด
ชุมทางบ้านดารา – สวรรคโลก
ชุมทางบ้านดารา 1137 ดร. 458.31 กม. 3 บ้านดารา พิชัย อุตรดิตถ์
คลองมะพลับ 1139 มป. 470.27 กม. 3 ศรีนคร ศรีนคร สุโขทัย
สวรรคโลก 1143 สว. 487.14 กม. 3 เมืองสวรรคโลก สวรรคโลก
สิ้นสุดทางรถไฟสายสวรรคโลกที่สถานีนี้

รายชื่อสถานีรถไฟสายเหนือในอดีต

[แก้]

*รหัสสถานี ชั้นสถานี กับตัวย่อ อ้างอิงจากการการใช้งานในขณะนั้นก่อนถูกยกเลิกการใช้งาน

*ข้อมูลหลักมาจากหนังสือแบบอักษรย่อ กรมรถไฟหลวง ประกาศเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2460 หนังสือรายชื่อสถานีรถไฟ พ.ศ. 2469 และหนังสือเลขรหัสของการรถไฟแห่งประเทศไทย ที่ประกาศเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2522

*ข้อมูลบางสถานีอาจตกหล่นหรือข้อมูลไม่ครบถ้วน เนื่องจากหลักฐานเอกสารอ้างอิงที่ยากต่อการสืบค้น

อ้างอิง[18][19][20][21][22][23][24]

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ รหัสสถานี ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี วันที่ ที่ตั้ง หมายเหตุ
เลข ตัวย่อ เปิดใช้งาน ยกเลิกใช้งาน ตำบล อำเภอ จังหวัด
โรงเรียนสามเสน 1005 5.00 กม. ป้ายหยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 สามเสนใน พญาไท กรุงเทพมหานคร
ประดิพัทธ์ 1006 ปิ. 6.37 กม. ป้ายหยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 ช่วงปี พ.ศ. 2564-2565
ชุมทางบางซื่อ 1 1007 บซ.1 7.479. กม. 1 พ.ศ. 2532 17 กรกฎาคม 2559 บางซื่อ บางซื่อ
ยุบรวมกับสถานีชุมทางบางซื่อ2 และใช้ชื่อ"สถานีชุมทางบางซื่อ"
ย่านพหลโยธิน 1008 ประมาณ 7 กม. ป้ายหยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 จตุจักร จตุจักร
พหลโยธิน 1231 พโ. 8.902 กม. 4 20 ธันวาคม 2544 27 ธันวาคม 2556
นิคมรถไฟลาดยาว 1009 ประมาณ 10 กม. ป้ายหยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 และตั๋วแข็งโดยสาร 12 กุมภาพันธ์ 2531
ใช้ป้ายหยุดรถนิคมกม.11 แทน
นิคมรถไฟ กม.11 1009 รถ. 11.01 กม. ป้ายหยุดรถไฟ ไม่ทราบแน่ชัด 19 มกราคม 2566
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีจตุจักร" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง
วัดเสมียนนารี 1010 12.20 กม. ป้ายหยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 ลาดยาว
บางเขน 1011 บข. 13.00 กม. 1 26 มีนาคม 2439 19 มกราคม 2566
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีบางเขน" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง
วัดเทวสุนทร 1012 13.30 กม. ป้ายหยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522
ทุ่งสองห้อง 1013 หส. 14.81 กม. ที่หยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 19 มกราคม 2566 ตลาดบางเขน หลักสี่
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีทุ่งสองห้อง" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง
ศูนย์ฝึกเทศบาล 1014 16.00 กม. ป้ายหยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522
หลักสี่ 1015 ลส. 17.57 กม. 1 26 มีนาคม 2439 19 มกราคม 2566
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีหลักสี่" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง
การเคหะ กม.19 1225 คห. 19.47 กม. ป้ายหยุดรถ ไม่ทราบแน่ชัด 19 มกราคม 2566 ดอนเมือง/สนามบิน ดอนเมือง
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีการเคหะ" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง
ตลาดใหม่ดอนเมือง 1016 ตใ. 21.69 กม. ป้ายหยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 19 มกราคม 2566
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีดอนเมือง" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง
โรงเรียนดอนเมือง 1018 23.00 กม. ป้ายหยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522
แกรนด์ คาแนล 1018 คแ. 24.78 กม. ป้ายหยุดรถ 5 เมษายน 2556 15 กันยายน 2563
ยกเลิกใช้งานเพราะอยู่ในแนวก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงเข้ม
หลักหก 1019 หั. 27.61 กม. ป้ายหยุดรถ 26 มีนาคม 2439 15 กันยายน 2563 หลักหก เมืองปทุมธานี ปทุมธานี
คลองรังสิต 1020 คส. 28.48 กม. ที่หยุดรถ 26 มีนาคม 2439 15 กันยายน 2563
ท่าลาน 1042 ไม่ทราบแน่ชัด ประมาณปี พ.ศ. 2491-2516 ช่วงปี พ.ศ. 2537-2538 บางโขมด บ้านหมอ สระบุรี
ท่าหลวง 1043 ไม่ทราบแน่ชัด ประมาณปี พ.ศ. 2491-2516 ช่วงปี พ.ศ. 2537-2538 ท่าครัว
บ้านหนองหมู 1075 มู. 221.77 กม. ที่หยุดรถ ไม่ทราบแน่ชัด พ.ศ. 2547 เนินมะกอก พยุหะคีรี นครสวรรค์
ทุ่งน้ำซึม 1078 ทซ. 231.35 กม. ที่หยุดรถ สัณนิฐานว่าเป็นวันที่ 10 ธันวาคม 2502 ไม่ทราบแน่ชัด เขาทอง
อ่างหิน อห. 239.97 กม. ที่หยุดรถ ไม่ทราบแน่ชัด 25 ตุลาคม 2487 หนองปลิง เมืองนครสวรรค์
คลองละมุง 1138 ลม. 466.32 กม. ที่หยุดรถ 15 สิงหาคม 2453 ราวปี พ.ศ. 2546 ไร่อ้อย พิชัย อุตรดิตถ์
วัดคลองปู 1040 วู. 474.96 กม. ที่หยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 1 ตุลาคม 2522 ราวปี พ.ศ. 2546 คลองยาง สวรรคโลก สุโขทัย
คลองยาง 1041 คย. 479.03 กม. ที่หยุดรถ 15 สิงหาคม 2453 ราวปี พ.ศ. 2546
หนองเรียง 1042 นย. 483.08 กม. ที่หยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 1 ตุลาคม 2522 ราวปี พ.ศ. 2546 ในเมือง
น้ำริด 1053 นร. 494.35 กม. ที่หยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 1 ตุลาคม 2522 ช่วงปี พ.ศ. 2540-2549 น้ำริด เมืองอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์
ห้วยแม่ลาน 1175 แล 574.20 กม. ที่หยุดรถ ราวปี พ.ศ. 2484 10 กรกฎาคม 2524 บ้านปิน ลอง แพร่
บ่อแฮ้ว 1194 บฮ. 647.12 กม. ที่หยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 1 ตุลาคม 2460 ช่วงปี พ.ศ. 2535-2545 บ่อแฮ้ว เมืองลำปาง ลำปาง
ปางหัวพง ประมาณ 675 กม. ที่หยุดรถ 20 ธันวาคม 2459 ก่อนปี พ.ศ. 2469 เวียงตาล ห้างฉัตร
ปางยาง ประมาณ 679 กม. ที่หยุดรถ 1 กรกฎาคม 2461 ก่อนปี พ.ศ. 2469
ห้วยเกี๋ยง ประมาณ 707 กม. ที่หยุดรถ 1 เมษายน 2498 พ.ศ. 2509 ท่าสบเส้า แม่ทา ลำพูน
ดอยติ 1215 ดต. 723.59 กม. ที่หยุดรถ ไม่แน่ชัด พบในบัญชี พ.ศ. 2469 พ.ศ. 2523 ป่าสัก เมืองลำพูน

รายชื่อสถานีรถไฟสายเหนือเพิ่มเติมในอนาคต

[แก้]

ช่วงสถานีรถไฟบ้านกลับ – โคกกระเทียม (โครงการรถไฟทางคู่เลี่ยงเมืองลพบุรี)

[แก้]

อ้างอิง[25]

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ รหัสสถานี ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี ที่ตั้ง หมายเหตุ
เลข ตัวย่อ ตำบล อำเภอ จังหวัด
บ้านกลับ – โคกกระเทียม
มาจากสถานีรถไฟกรุงเทพ ในเส้นทางสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ – เชียงใหม่
บ้านกลับ 1047 บก. 122.727 กม. 3 บ้านกลับ หนองโดน สระบุรี
ลพบุรี 1 130.212 กม. 1 โพธิ์เก้าต้น เมืองลพบุรี ลพบุรี
สร้างในภายหลัง
ลพบุรี 2 141.757 กม. 1 โพตลาดแก้ว ท่าวุ้ง
เป็นสถานีรถไฟยกระดับ
โคกกะเทียม 1053 คท. 144.250 กม. 3 โคกกระเทียม เมืองลพบุรี

ช่วงสถานีรถไฟปากน้ำโพ – แม่สอด

[แก้]

ทางรถไฟสายนครสวรรค์-แม่สอด เป็นโครงการรถไฟทางคู่สายใหม่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย และเป็นส่วนต่อขยายของทางรถไฟสายเหนือ โดยจะแยกจากช่วงชุมทางบ้านภาชี–เชียงใหม่ ที่สถานีรถไฟชุมทางปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ และไปสิ้นสุดปลายทางที่สถานีรถไฟด่านแม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก[26][27]

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ รหัสสถานี ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี ที่ตั้ง หมายเหตุ
เลข ตัวย่อ ตำบล อำเภอ จังหวัด
ปากน้ำโพ – ด่านแม่สอด
มาจากสถานีรถไฟกรุงเทพ ในเส้นทางสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ – เชียงใหม่
ปากน้ำโพ 1083 ปพ. 250.617 กม. 1 ปากน้ำโพ เมืองนครสวรรค์ นครสวรรค์
เป็นสถานีต้นทางของส่วนต่อขยาย
บึงเสนาท 254.032 กม. 2 บึงเสนาท
  • จุดจอดขนถ่ายตู้สินค้า
  • เป็นสถานีขนาดใหญ่
บ้านมะเกลือ 260.982 กม. 2 บ้านมะเกลือ
มหาโพธิ์ 266.382 กม. 3 มหาโพธิ เก้าเลี้ยว
เก้าเลี้ยว 273.807 กม. 2 เก้าเลี้ยว
เป็นสถานีย่อย ประจำอำเภอ
บางตาหงาย 280.782 กม. ป้ายหยุดรถ หัวดง
เจริญผล 288.682 กม. 2 เจริญผล บรรพตพิสัย
จุดจอดขนถ่ายตู้สินค้า เป็นสถานีขนาดกลาง
ตาขีด 299.882 กม. ป้ายหยุดรถ ตาขีด
ป่าพุทรา 306.382 กม. 3 ป่าพุทรา ขาณุวรลักษบุรี กำแพงเพชร
ยางสูง 314.961 กม. ป้ายหยุดรถ ยางสูง
วังแขม 320.032 กม. 3 วังแขม คลองขลุง
วังยาง 324.832 กม. ป้ายหยุดรถ วังยาง
ท่ามะเขือ 329.232 กม. 3 ท่ามะเขือ
วังบัว 338.357 กม. ป้ายหยุดรถ วังบัว
คณฑี 345.532 กม. 2 คณฑี เมืองกำแพงเพชร
เทพนคร 354.982 กม. ป้ายหยุดรถ เทพนคร
กำแพงเพชร 363.867 กม. 1 สระแก้ว
เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำจังหวัด
หนองปลิง 371.249 กม. 3 หนองปลิง
จุดจอดขนถ่ายตู้สินค้า เป็นสถานีขนาดเล็ก
ลานดอกไม้ 385.267 กม. 3 ลานดอกไม้
โกสัมพี 397.967 กม. ป้ายหยุดรถ โกสัมพี โกสัมพีนคร
วังเจ้า 407.667 กม. 3 วังหิน เมืองตาก ตาก
เข้าเขตจังหวัดตาก
วังหิน 418.962 กม. ป้ายหยุดรถ
หนองบัวใต้ 425.767 กม. 2 หนองบัวใต้
จุดจอดขนถ่ายตู้สินค้า เป็นสถานีขนาดกลาง
ตาก 432.030 กม. 1 แม่ท้อ
เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำจังหวัด
- เข้าอุโมงค์ดอยรวก ยาว 15500 เมตร กม.ที่ 447.517 – 463.017
ด่านแม่ละเมา 465.192 กม. 3 ด่านแม่ละเมา แม่สอด ตาก
- เข้าอุโมงค์แม่ละเมา แห่งที่ 1 ยาว 1420.00 เมตร กม.ที่ 469.967 – 471.372
- เข้าอุโมงค์แม่ละเมา แห่งที่ 2 ยาว 765.00 เมตร กม.ที่ 471.837 – 472.602
- เข้าอุโมงค์ดอยพะวอ ยาว 12000.00 เมตร กม.ที่ 474.195 – 486.362
แม่ปะ 486.572 3 แม่ปะ แม่สอด ตาก
แม่สอด 495.922 กม. 1
เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำอำเภอ
ด่านแม่สอด 501.117 กม. 2 ท่าสายลวด
  • จุดจอดขนถ่ายตู้สินค้า เป็นสถานีขนาดกลาง
  • เป็นสถานีปลายทาง

ช่วงสถานีรถไฟเด่นชัย – เชียงราย – เชียงของ

[แก้]

อ้างอิง[28][29]

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ รหัสสถานี ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี ที่ตั้ง หมายเหตุ
เลข ตัวย่อ ตำบล อำเภอ จังหวัด
เด่นชัย – เชียงราย
มาจากสถานีรถไฟกรุงเทพ ในเส้นทางสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ – เชียงใหม่
เด่นชัย 1164 ดช. 533.94 กม. 1 เด่นชัย เด่นชัย แพร่
เป็นสถานีต้นทางของส่วนต่อขยาย
สูงเม่น 547.80 กม. 2 พระหลวง สูงเม่น
เป็นสถานีย่อย ประจำอำเภอ
แพร่ 560.50 กม. 1 ทุ่งกวาว เมืองแพร่
เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำจังหวัด
แม่คำมี 572.00 กม. 3 แม่คำมี
หนองเสี้ยว 584.10 กม. ป้ายหยุดรถ หัวเมือง สอง
สอง 591.00 กม. 2 บ้านหนุน
เป็นสถานีย่อย ประจำอำเภอ
- เข้าอุโมงค์สอง ยาว 1125.00 เมตร กม.ที่ 606.200 – 607.325
- เข้าอุโมงค์งาว ยาว 6375.00 เมตร กม.ที่ 609.050 – 615.425
แม่ตีบ 618.00 กม. ป้ายหยุดรถ แม่ตีบ งาว ลำปาง
งาว 637.00 กม. 2 หลวงเหนือ
เป็นสถานีย่อยประจำอำเภอ
ปงเตา 642.25 กม. ป้ายหยุดรถ ปงเตา
- เข้าอุโมงค์แม่กา ยาว 2825.00 เมตร กม.ที่ 663.400 – 666.225
มหาวิทยาลัยพะเยา 670.60 กม. 2 แม่กา เมืองพะเยา พะเยา
บ้านโทกหวาก 677.55 กม. ป้ายหยุดรถ
พะเยา 683.40 กม. 1 จำป่าหวาย
เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำจังหวัด
ดงเจน 689.75 กม. ป้ายหยุดรถ ท่าวังทอง
บ้านร้อง 696.55 กม. ป้ายหยุดรถ ดงเจน ภูกามยาว
บ้านใหม่ (พะเยา) 709.90 กม. ป้ายหยุดรถ ห้วยแก้ว
ป่าแดด 724.55 กม. 2 โรงช้าง ป่าแดด เชียงราย
ป่าแงะ 732.20 กม. ป้ายหยุดรถ ป่าแงะ
บ้านโป่งเกลือ 743.20 กม. ป้ายหยุดรถ ดอยลาน เมืองเชียงราย
สันป่าเหียง 756.10 กม. ป้ายหยุดรถ ห้วยสัก
เชียงราย 771.80 กม. 1 เวียงชัย เวียงชัย
  • เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำจังหวัด
  • จุดจอดขนถ่ายตู้สินค้า เป็นสถานีขนาดใหญ่
ทุ่งก่อ 785.50 กม. ป้ายหยุดรถ ทุ่งก่อ เวียงเชียงรุ้ง
เวียงเชียงรุ้ง 796.45 กม. 2 ทุ่งก่อ
เป็นสถานีย่อย ประจำอำเภอ
ชุมทางบ้านป่าซาง 807.43 กม. 3 ป่าซาง
ส่วนต่อขยาย ช่วงชุมทางบ้านป่าซาง-เชียงแสน
- เข้าอุโมงค์ดอยหลวง ยาว 3600.00 เมตร กม.ที่ 816.600 – 820.200
บ้านเกี๋ยง 829.25 กม. ป้ายหยุดรถ ห้วยซ้อ เชียงของ เชียงราย
ศรีดอนชัย 839.19 กม. ป้ายหยุดรถ ศรีดอนชัย
เชียงของ 853.79 กม. 2 สถาน

ช่วงสถานีชุมทางบ้านป่าซาง – เชียงแสน

[แก้]

ช่วงสถานีชุมทางบ้านป่าซาง–เชียงแสน มีระยะทาง 25.487 กิโลเมตร [30][31]

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ รหัสสถานี ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี ที่ตั้ง หมายเหตุ
เลข ตัวย่อ ตำบล อำเภอ จังหวัด
ชุมทางบ้านป่าซาง-เชียงแสน
มาจากสถานีรถไฟกรุงเทพ ในเส้นทางเด่นชัย – เชียงของ
ชุมทางบ้านป่าซาง 807.43 กม. 3 ป่าซาง เวียงเชียงรุ้ง เชียงราย
เชื่อมต่อกับทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงของ (เส้นทางหลัก)
โชคชัย 814.25 กม. 3 โชคชัย ดอยหลวง
เชียงแสน 830.00 กม. 2 เวียง เชียงแสน
  • เป็นสถานีย่อย ประจำอำเภอ
  • เป็นสถานีปลายทาง

อ้างอิง

[แก้]
  1. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลท่าแค อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  2. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลถนนใหญ่ อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  3. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องรังวัดแบ่งแยกเวนคืนที่ดินเพื่อสร้างทางรถไฟสายหนองเต่า เขาทับควาย จังหวัดลพบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 65 (27 ง): 1658. วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2491
  4. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องรังวัดแบ่งแยกเวนคืนที่ดินเพื่อสร้างทางรถไฟสายหนองเต่า เขาทับควาย จังหวัดลพบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 65 (27 ง): 1658. วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2491
  5. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลเชียงงา อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  6. "ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2519 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519
  7. "ตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2532 เนื่องจากมีความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ตั้งสถานีขึ้นในเส้นทางรถไฟสายเหนือ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2532
  8. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลวงฆ้อง อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  9. 9.0 9.1 "พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. ๒๕๑๖" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 90 (180 ก): (ฉบับพิเศษ) 115-120. วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2516
  10. 10.0 10.1 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลท่าอิฐ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  11. "ตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2528 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2528
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลสบป้าด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  13. 13.0 13.1 13.2 13.3 "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 91 ง): 44–64. วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2541
  14. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  15. 15.0 15.1 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  16. 16.0 16.1 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  17. 17.0 17.1 17.2 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลพระบาท อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  18. รหัสสถานีรถไฟ Website. 2010-03-04 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
  19. ลาชานชลา สถานีชุมทางบางซื่อ Webblog. 2019-07-20 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
  20. ทางแยกเส้นทางหนึ่งที่ กม.109 ท่าหลวง Website. 2006-07-21 สืบค้นเมื่อ 2021-12-31
  21. 25 ตุลาคม 2487 กรมรถไฟมีคำสั่งยุบที่หยุดรถต่อไปนี้ Website. 2007-02-27 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
  22. แบบอักษรย่อกรมรถไฟหลวงปี พ.ศ. 2460 Facebook. 2021-05-21 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
  23. รายชื่อสถานีรถไฟปี พ.ศ. 2469 Facebook. 2021-05-21 สืบค้นเมื่อ 2021-12-31
  24. นับถอยหลัง 19 ม.ค. รถไฟวิ่งบนทางยกระดับ เลิกที่หยุดรถหลายป้าย เปลี่ยนใหม่ไปใช้สถานีสายสีแดงแทน Website. 2023-01-16 สืบค้นเมื่อ 2023-09-18
  25. เลี่ยงพระปรางค์ 3 ยอด ลพบุรี “รถไฟทางคู่ลอยฟ้า” 19 กม. ยาวที่สุดในไทย Website. 2021-12-04 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
  26. โครงการก่อสร้างทางรถไฟสายแม่สอด ตาก กำแพงเพชร นครสวรรค์ Facebook. 2021-07-28 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
  27. งานสำรวจ ออกแบบรายละเอียด และจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเตรียมการก่อสร้างทางรถไฟ สายแม่สอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค์ Website. ไม่สร้าบปี สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
  28. ทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ วิกิพีเดีย. 2021-11-17 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
  29. แผนที่แนวเส้นทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ Google Maps. 2017-07-24 สืบค้นเมื่อ 2019-06-23
  30. ทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ วิกิพีเดีย. 2021-11-17 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
  31. แผนที่แนวเส้นทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ Google Maps. 2017-07-24 สืบค้นเมื่อ 2019-06-23