ข้ามไปเนื้อหา

ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2564–65

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก 2
ฤดูกาล2564–65
วันที่3 กันยายน 2564 – 28 พฤษภาคม 2565
ทีมชนะเลิศลำพูน​ วอร์ริเออร์
เลื่อนชั้นลำพูน วอร์ริเออร์
สุโขทัย
ลำปาง
ตกชั้นขอนแก่น
ราชนาวี
จำนวนนัด306
จำนวนประตู869 (2.84 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดทาเลส ลิมา ครูซ
(22 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
6 ประตู
ลำปาง 7–1 ขอนแก่น
(5 มีนาคม 2565)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
6 ประตู
คัสตอม ลาดกระบังฯ 3–9 อุดรธานี
(17 พฤศจิกายน 2564)
เชียงใหม่ 0–6 ลำปาง
(26 มีนาคม 2565)
จำนวนประตูสูงสุด12 ประตู
คัสตอม ลาดกระบังฯ 3–9 อุดรธานี
(17 พฤศจิกายน 2564)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
8 นัด
ลำพูน วอร์ริเออร์
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
21 นัด
ตราด
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
18 นัด
ราชนาวี
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
8 นัด
ราชนาวี
จำนวนผู้ชมสูงสุด4,529 คน
ลำพูน วอร์ริเออร์ 2–0 ราชประชา
(24 เมษายน 2565)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม161,286 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย630 คน
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 30 เมษายน 2565

ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2564–65 หรือ เอ็ม–150 แชมเปียนชิป ฤดูกาล 2564–65 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือโอสถสภา เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีก 2 ฤดูกาลที่ 24 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสองของประเทศไทย โดยจะมีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 18 สโมสร แข่งขันแบบพบกันหมดในระบบเหย้า-เยือน สโมสรที่ได้ 2 อันดับแรกจะได้เลื่อนชั้นไปเล่นในไทยลีกโดยอัตโนมัติ และทีมอันดับ 3-6 จะได้สิทธิ์เตะเพลย์ออฟ เพื่อหาแชมป์เพลย์ออฟขึ้นไปเล่นในไทยลีกอีก 1 ทีม ในฤดูกาลถัดไป ในขณะที่สโมสรที่ได้ 3 อันดับสุดท้ายจะต้องตกชั้นลงไปแข่งขันในไทยลีก 3 ในฤดูกาลถัดไป

การเปลี่ยนแปลงสโมสรจากฤดูกาลที่แล้ว

[แก้]

เข้าสู่ไทยลีก 2

[แก้]
ตกชั้นจาก ไทยลีก
เลื่อนชั้นจาก ไทยลีก 3

ออกจากไทยลีก 2

[แก้]
เลื่อนชั้นสู่ ไทยลีก
ตกชั้นสู่ ไทยลีก 3
ถูกตัดสิทธิ์แข่งขัน ไทยลีก 3

สโมสร

[แก้]
ที่ตั้งของสโมสรจากกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในการแข่งขันไทยลีก 2 ฤดูกาล 2564–65

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2564–65 มีจำนวน 18 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563–64 จำนวน 12 สโมสร สโมสรที่ตกชั้นจากไทยลีก ฤดูกาล 2563–64 จำนวน 3 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยลีก 3 ฤดูกาล 2563–64 จำนวน 3 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

[แก้]
สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2563–64
เกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร (จตุจักร) สนามกีฬาอินทรีจันทรสถิตย์ 3,275 14
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ระนอง (เมืองระนอง) สนามกีฬากลางจังหวัดระนอง 7,000 8
ขอนแก่น ขอนแก่น (เมืองขอนแก่น) สนามกีฬากลางจังหวัดขอนแก่น 7,000 10
คัสตอม ลาดกระบัง ยูไนเต็ด สมุทรปราการ (บางพลี) สนามกีฬาลาดกระบัง 54 2,000 13
ชัยนาท ฮอร์นบิล ชัยนาท (เมืองชัยนาท) เขาพลองสเตเดียม 8,625 6
เชียงใหม่ เชียงใหม่ (เมืองเชียงใหม่) สนามกีฬาเทศบาลนครเชียงใหม่ 5,000 7
ตราด ตราด (เมืองตราด) สนามกีฬากลางจังหวัดตราด 5,000 15 (ไทยลีก)
นครปฐม ยูไนเต็ด นครปฐม (เมืองนครปฐม) สนามกีฬาโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม 6,000 3
แพร่ ยูไนเต็ด แพร่ (เมืองแพร่) ห้วยม้าสเตเดียม 2,500 5
เมืองกาญจน์ ยูไนเต็ด กาญจนบุรี (เมืองกาญจนบุรี) สนามกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี 18,000 2 (ไทยลีก 3)
ระยอง ระยอง (เมืองระยอง) สนามกีฬากลางจังหวัดระยอง 7,500 16 (ไทยลีก)
ราชนาวี ชลบุรี (สัตหีบ) สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ 5,000 11
ราชประชา นนทบุรี (เมืองนนทบุรี) สนามกีฬาศูนย์เยาวชนเฉลิมพระเกียรติ เทศบาลนครนนทบุรี (ชั่วคราว) 6,000 3 (ไทยลีก 3)
ลำปาง ลำปาง (เมืองลำปาง) สนามกีฬากลางจังหวัดลำปาง 5,500 12
ลำพูน วอร์ริเออร์ ลำพูน (เมืองลำพูน) แม่กวงสเตเดียม 3,000 1 (ไทยลีก 3)
สุโขทัย สุโขทัย (เมืองสุโขทัย) ทะเลหลวงสเตเดียม 8,000 14 (ไทยลีก)
อยุธยา ยูไนเต็ด พระนครศรีอยุธยา (พระนครศรีอยุธยา) สนามกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 6,000 9
อุดรธานี อุดรธานี (เมืองอุดรธานี) สนามกีฬากลางจังหวัดอุดรธานี 10,000 15

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน

[แก้]
สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
เกษตรศาสตร์ ไทย อิทธิพล นนท์ศิริ
ไทย ศราวุฒิ จันทพันธ์ (รักษาการ)
บราซิล แซลียู ซู๊ต ลีโอ, นมไทย-เดนมาร์ค, คาราบาวแดง2
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ไทย ฟาซัล อุสมา อิหร่าน ซาอิด ชาโจเอล ยูเรก้า พีที, ลีโอ, แอร์เอเชีย
ขอนแก่น ไทย พิเชษฐ์ สุโพธิ์เมือง (รักษาการ) ไทย ชาคริต ระวันประโคน แกรนด์สปอร์ต เมืองไทยประกันภัย, นมไทย-เดนมาร์ค
คัสตอม ลาดกระบัง ยูไนเต็ด ไทย อานนท์ บรรดาศักดิ์ ไทย อดิศักดิ์ กานู โวลต์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์, ธนาคารกรุงไทย, ลีโอ, ทิพยประกันภัย2, ยิบอินซอย2
ชัยนาท ฮอร์นบิล ไทย สุเมธ อยู่โต ไทย อนุวัติ น้อยชื่นพันธ์ วอริกซ์ วังขนาย, ลีโอ2, อิเดมิตสึ
เชียงใหม่ ไทย ทนงสักธิ์ ประจักกะตา (รักษาการ) ไทย ภูมิพัฒน์ สราพิสิทธิ์ภัทร โวลต์ ลีโอ, บางกอกแอร์เวย์1, เมืองไทยประกันชีวิต2
ตราด ไทย สมชาย ชวยบุญชุม ไทย พรปรีชา จารุนัย ซู๊ต ซีพี, เบียร์ช้าง
นครปฐม ยูไนเต็ด ไทย ธงชัย สุขโกกี ไทย โชคชัย ชูชัย เบียร์ช้าง, เทพผดุงพรมะพร้าว
แพร่ ยูไนเต็ด ไทย ธงชัย รุ่งเรืองเลิศ ไทย ประกิต ดีพร้อม แกรนด์สปอร์ต สามารถเทลคอม, เบียร์ช้าง
เมืองกาญจน์ ยูไนเต็ด ไทย สมชาย มากมูล ไทย สุเชาว์ นุชนุ่ม ฮิตแมน มิตรแท้, ดราก้อน โซลาร์รูฟ
ระยอง ญี่ปุ่น มาซามิ ทากิ ไทย อดิศักดิ์ ศรีกำปัง วอริกซ์ กัลฟ์, ลีโอ, ธนาคารไทยพาณิชย์2, ซิงเกอร์
ราชนาวี ไทย นิวัฒน์ จิตพูลผล ญี่ปุ่น โกชิ โอกูโบะ พีบี ดีไซน์ เบียร์ช้าง,โฮโซคาวา
ราชประชา ไทย ศุภชัย คมศิลป์
ไทย อำนาจ แก้วเขียว
ปารากวัย แองเจลโล่ มาชูก้า วอริกซ์ โคคา-โคล่า, บางกอกกล๊าส1, แอร์เอเชีย1, นมไทย-เดนมาร์ค2, เมืองไทยประกันชีวิต2
ลำปาง ไทย สุกฤษฎิ์ โยธี ไทย พลธวัฒน์ จันทะศรี วิทยาลัยพิชญบัณฑิต, ช้าง, นมไทย-เดนมาร์ค, โคคา-โคล่า1
ลำพูน วอร์ริเออร์ บราซิล วานเดอร์เลย์ จูเนียร์ (รักษาการ) ไทย อดุล หละโสะ ทูเอส สปอร์ต เบทาโกร, เบียร์ช้าง
สุโขทัย เยอรมนี เดนนิส อามาโต ไทย ศิลา ศรีกำปัง มาวิน ช้าง, ซีพี, คาราบาวแดง2, Zand Morada Pattaya2, SC Group2
อยุธยา ยูไนเต็ด ไทย เจษฎา จิตสวัสดิ์ ไทย นนทวัฒน์ กลิ่นจำปาศรี พีแกน กัลฟ์, เบียร์ช้าง, อบจ.พระนครศรีอยุธยา
อุดรธานี ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล โครเอเชีย อเล็กซานเดอร์ คาปิโซดา เกลเม เบียร์ช้าง,เป๊ปซี่1, ฟิตเนส เฟิร์ส2
1. ^ บนด้านหลังเสื้อ
2. ^ บนแขนเสื้อ
3. ^ บนกางเกง

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติกำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไป ไม่เกิน 3 คน และให้มีนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติที่มีสัญชาติอยู่ในประเทศสมาชิกของ เอเอฟซี ได้อีก 1 คน และให้มีนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติที่มีสัญชาติอยู่ในประเทศสมาชิกของอาเซียนได้อีก 1 คน[2]

ชื่อผู้เล่นใน ตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นลงทะเบียนระหว่างช่วงโอนย้ายกลางฤดูกาล

สโมสร ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3 ผู้เล่นเอเชีย ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 1 อดีตผู้เล่น
เกษตรศาสตร์ บราซิล แซลียู ฝรั่งเศส ซีมง ดียา ฝรั่งเศส แกรก อูลา เกาหลีใต้ พัก ฮยูน-วู ลาว สุขพร วงศ์เชียงคำ เซอร์เบีย นิกอลา กอมาเซค
ไนจีเรีย ราฟาเอล ซักเซส
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด แคเมอรูน Mardochee Kaham Seuntcha แคเมอรูน Lionel Frank Touko Nzola อิหร่าน ซาอิด ชาโจเอล ญี่ปุ่น Mitsuhiro Seki ประเทศพม่า อองจอไนง์ บราซิล การ์ลุส ดาร์เมียน ดุส ซังตุส
เกาหลีใต้ ยอน กี-ซอง
ขอนแก่น บราซิล การ์ลุส ดาร์เมียน ดุส ซังตุส บราซิล ตีอากู ชูลาปา บราซิล Fellipe Veloso
เซอร์เบีย มีลาน บูบาโล
ญี่ปุ่น โกกิ นาริตะ
คัสตอม ลาดกระบัง ยูไนเต็ด บราซิล เอเลียส เฟนานด์ เด โอลีเวย์รา บราซิล โดกลัส เฟร์ไรรา อิหร่าน Abdolreza Zarei เยอรมนี อีวานเกลอส สคราปารัส
เกาหลีใต้ ชเว โฮ-จู
อัฟกานิสถาน มุชทาค อะมาดี
ชัยนาท ฮอร์นบิล บราซิล ดักกลาส คาร์โดโซ บราซิล เวลลิงตัน พรีโอรี ตรินิแดดและโตเบโก ดาเนียล ไซรัส โอมาน บาดาร์ อาลี
เชียงใหม่ บราซิล ดานีลู ลอปิส เซอร์เบีย เวลโก ฟิลิโปวิช รัสเซีย เอฟจีนี่ กาบาเยฟ ญี่ปุ่น เซยะ ซูงิชิตะ
ตราด บราซิล เปาลู คอนราดู บราซิล วัลโดมิโร ซัวรีช โกตดิวัวร์ บาโบ มาร์ก ลองดรี ญี่ปุ่น ฮิโรมิชิ คาตาโนะ ประเทศพม่า ซอมี่นทู่น
นครปฐม ยูไนเต็ด บราซิล โอสวัลดู แนตู ไลบีเรีย คีท นาห์ บราซิล อัลแบร์ตู มูไรรา กูเวีย อิหร่าน อามีร์อาลี เชร์จินี่ ลาว พิทัก กองมาทิลาด ญี่ปุ่น เค็นโซ นัมบุ
เอลซัลวาดอร์ เลสเตอร์ บลังโก
แพร่ ยูไนเต็ด บราซิล การ์ลุส ซังตุส บราซิล เวลลิงตัน สมิธ บราซิล โรดริโก มารันเยา ญี่ปุ่น ทาคุ อิโตะ ประเทศพม่า จอโกโก
เมืองกาญจน์ ยูไนเต็ด บราซิล มาร์ลง ดา ซิลวา บราซิล ลีอังดรู อัสซัมเซา บราซิล ฌูนาตัน เรอิส ญี่ปุ่น เค็นโตะ นางาซากิ ฟิลิปปินส์ มาร์ติน สตูเบิล
บราซิล ไคอง
อุซเบกิสถาน อาร์ทยม ฟีลีโปสยัน
ระยอง บราซิล อเดลกีโซ่ พิตบูล บราซิล รามอน โรดริเกวซ สเปน ดาบิด คูเอร์บา ญี่ปุ่น เค็นโซ นัมบุ ประเทศพม่า จอโกโก
ราชนาวี ไนจีเรีย อเดโฟลาริน ดูโรซินมี ญี่ปุ่น โกชิ โอกูโบะ ติมอร์-เลสเต เปดรู เอ็งรีกี ญี่ปุ่น ทัตสึยะ ซากาอิ ประเทศพม่า ซวนลัมมัง ญี่ปุ่น ยูกิ บัมบะ
บราซิล โรซัลโว แคนดิโด้ โรซ่า จูเนียร์
ราชประชา เกาหลีใต้ ยอน กี-ซอง บราซิล จาร์เดล คาปิสทราโน่ ปารากวัย แองเจลโล่ มาชูก้า เกาหลีใต้ ชเว โฮ-จู บราซิล โดกลัส เฟร์ไรรา
ญี่ปุ่น ยูกิ โนฮาระ
ลำปาง บราซิล อันเดรย์ โกชิญญู บราซิล เดวิซง เฟร์นังจิส บราซิล ลูกัส มาสซาโร่ ญี่ปุ่น ยูกิ บัมบะ บราซิล มาร์ลง ดา ซิลวา
อิรัก เซลวาน อัล จาเบรี
ลำพูน วอร์ริเออร์ บราซิล ทาเลส ลิมา ครูซ ฝรั่งเศส อาลี ซิสโซโก เวเนซุเอลา เฆฟเฟรน ซัวเรซ เกาหลีใต้ คว็อน แด-ฮี ประเทศพม่า มองมองลวีน บราซิล เจา เปาโล ซาเรส
สุโขทัย เนเธอร์แลนด์ เมลวิน เดอ ลูว์ สวีเดน ออสมาน โซว์ เกาหลีใต้ ฮวาง โด-ยอน เกาหลีใต้ วู กึน-ยอง ฟิลิปปินส์ Marco Casambre อาร์เจนตินา นิโคลัส เบเลซ
สิงคโปร์ ซูลฟาห์มี่ อารีฟิน
อยุธยา ยูไนเต็ด อัฟกานิสถาน มุสตาฟา อาซัดซอย สเปน เดนนิส นีเอบลัส เซอร์เบีย นิกอลา กอมาเซค ญี่ปุ่น เซยะ โคจิมะ บราซิล ฟีลีปี วัลเลซ
อุดรธานี โครเอเชีย อเล็กซานเดอร์ คาปิโซดา เยอรมนี อีวานเกลอส สคราปารัส เยอรมนี อาร์โนลด์ ซูว์ เกาหลีใต้ ลิม ชาง-ยุน ประเทศพม่า อองกองมานน์ บราซิล ทาเลส ลิมา ครูซ
ลาว สุขพร วงศ์เชียงคำ

การเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์และที่ตั้ง

[แก้]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

[แก้]
สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
สุโขทัย ไทย สุรพงษ์ คงเทพ ลาออก[5] มีนาคม 2564 ก่อนเริ่มฤดูกาล เยอรมนี เดนนิส อามาโต 24 เมษายน 2564[6]
ระยอง ญี่ปุ่น มาซามิ ทากิ หมดสัญญา ญี่ปุ่น ซูงาโอะ คัมเบะ 17 เมษายน 2564[7]
ราชประชา ไทย จักรกริช บุญคำ ปรับโครงสร้าง ไทย ดุสิต เฉลิมแสน 29 เมษายน 2564[8]
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด สวิตเซอร์แลนด์ ดาเมียน เบลลอง แยกทาง เมษายน 2564 บราซิล รอยเตอร์ มูไรรา 28 เมษายน 2564[9]
คัสตอม ลาดกระบัง ยูไนเต็ด ไทย สันติ ทรงเต๊ะ สวิตเซอร์แลนด์ ดาเมียน เบลลอง 19 เมษายน 2564[10]
ราชนาวี ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล ญี่ปุ่น มิซูโอะ คัตโตะ 28 เมษายน 2564[11]
ตราด ไทย พยงค์ ขุนเณร ไทย สมชาย ชวยบุญชุม 14 มิถุนายน 2564[12]
อุดรธานี ไทย ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย บราซิล เฟอร์นันโด ซาเลส 8 มิถุนายน 2564[13]
อยุธยา ยูไนเต็ด ไทย สันติ ไชยเผือก หมดสัญญา ไทย เจษฎา จิตสวัสดิ์ สิงหาคม 2564
เชียงใหม่ ไทย อำนาจ แก้วเขียว แยกทาง พฤษภาคม 2564[14] ไทย ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก 6 พฤษภาคม 2564[15]
ลำปาง ไทย วีรยุทธ์ บินอับดุลเลาะมาน มิถุนายน 2564 ไทย สุกฤษฎิ์ โยธี 3 มิถุนายน 2564[16]
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด บราซิล รอยเตอร์ มูไรรา 13 กรกฎาคม 2564[17] ไทย ณัฐวุฒิ รัตนาภรณ์ กรกฎาคม 2564
ราชประชา ไทย ดุสิต เฉลิมแสน ปรับโครงสร้าง กรกฎาคม 2564[18] ไทย จักรกริช บุญคำ กรกฎาคม 2564
อุดรธานี บราซิล เฟอร์นันโด ซาเลส แยกทาง อาร์เจนตินา ดานีเอล บลังกู 23 สิงหาคม 2564[19]
ขอนแก่น ไทย พิเชษฐ์ สุโพธิ์เมือง ปรับโครงสร้าง ญี่ปุ่น มาซายูกิ มิอูระ กรกฎาคม 2564
ชัยนาท ฮอร์นบิล เยอรมนี โรนัลด์ โบเน็ตติ กันยายน 2564 อันดับที่ 16 ไทย สุเมธ อยู่โต กันยายน 2564[20]
ราชประชา ไทย จักรกริช บุญคำ 27 กันยายน 2564 อันดับที่ 14 ไทย ทนงศักดิ์ ประจักกะตา 27 กันยายน 2564[21]
เมืองกาญจน์ ยูไนเต็ด ไทย จเด็จ มีลาภ แยกทาง 28 กันยายน 2564[22] อันดับที่ 13 ไทย สมชาย มากมูล 19 ตุลาคม 2564[23]
ราชนาวี ญี่ปุ่น มิซูโอะ คัตโตะ 29 กันยายน 2564 อันดับที่ 18 ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล 30 กันยายน 2564[24]
อุดรธานี อาร์เจนตินา ดานีเอล บลังกู ลาออก 22 ตุลาคม 2564 อันดับที่ 4 เยอรมนี เยิร์ค สเตนบรุนเนอร์ พฤศจิกายน 2564
ลำพูน วอร์ริเออร์ ไทย จงสฤษดิ์ วุฒิช่วย ปรับโครงสร้าง 8 พฤศจิกายน 2564 อันดับที่ 6 บราซิล วานเดอร์เลย์ ฌูนีโยร์ (รักษาการ) 11 พฤศจิกายน 2564
แพร่ ยูไนเต็ด ไทย อานนท์ บรรดาศักดิ์ แยกทาง อันดับที่ 4 ไทย พิชิตพงษ์ เฉยฉิว (รักษาการ) พฤศจิกายน 2564
คัสตอม ลาดกระบัง ยูไนเต็ด สวิตเซอร์แลนด์ ดาเมียน เบลลอง 21 พฤศจิกายน 2564 อันดับที่ 11 ไทย วริศ บุญศรีพิทยานนท์ (รักษาการ)
ขอนแก่น ญี่ปุ่น มาซายูกิ มิอูระ 28 พฤศจิกายน 2564 อันดับที่ 15 อาร์เจนตินา ดานีเอล บลังกู 30 พฤศจิกายน 2564[25]
ราชประชา ไทย ทนงสักธิ์ ประจักกะตา 7 ธันวาคม 2564[26] อันดับที่ 17 ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ 7 ธันวาคม 2564[27]
ระยอง ญี่ปุ่น ซูงาโอะ คัมเบะ 10 ธันวาคม 2564[28] อันดับที่ 13 ญี่ปุ่น มาซามิ ทากิ 20 ธันวาคม 2564[29]
อุดรธานี เยอรมนี เยิร์ค สเตนบรุนเนอร์ ลาออก มกราคม 2565 อันดับที่ 3 บราซิล รอยเตอร์ มูไรรา 23 มกราคม 2565[30]
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ไทย ณัฐวุฒิ รัตนาภรณ์ แยกทาง อันดับที่ 8 ไทย ทิพยันต์ จันทร์แก้ว 6 มกราคม 2565[31]
เกษตรศาสตร์ ไทย พนิพล เกิดแย้ม ปรับโครงสร้าง 3 กุมภาพันธ์ 2565 อันดับที่ 13 ไทย อิทธิพล นนท์ศิริ
ไทย ศราวุฒิ จันทพันธ์ (รักษาการ)
3 กุมภาพันธ์ 2565[32]
แพร่ ยูไนเต็ด ไทย พิชิตพงษ์ เฉยฉิว (รักษาการ) แยกทาง 14 กุมภาพันธ์ 2565 อันดับที่ 8 ไทย ธงชัย รุ่งเรืองเลิศ 14 กุมภาพันธ์ 2565[33]
อุดรธานี บราซิล รอยเตอร์ มูไรรา 15 กุมภาพันธ์ 2565 อันดับที่ 6 ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล 22 กุมภาพันธ์ 2565[34]
ราชนาวี ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล ลาออก กุมภาพันธ์ 2565 อันดับที่ 18 ไทย นิวัฒน์ จิตพูลผล (รักษาการ) กุมภาพันธ์ 2565
คัสตอม ลาดกระบัง ยูไนเต็ด ไทย วริศ บุญศรีพิทยานนท์ (รักษาการ) สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ อันดับที่ 15 ไทย อานนท์ บรรดาศักดิ์ 22 กุมภาพันธ์ 2565[35]
ราชประชา ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ ปรับโครงสร้าง อันดับที่ 16 ไทย ศุภชัย คมศิลป์
ไทย อำนาจ แก้วเขียว
กุมภาพันธ์ 2565
เชียงใหม่ ไทย ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก แยกทาง 28 กุมภาพันธ์ 2565 อันดับที่ 12 ไทย ทนงสักธิ์ ประจักกะตา (รักษาการ) 28 กุมภาพันธ์ 2565[36]
ขอนแก่น อาร์เจนตินา ดานีเอล บลังกู 11 มีนาคม 2565 อันดับที่ 17 ไทย พิเชษฐ์ สุโพธิ์เมือง (รักษาการ) 11 มีนาคม 2565[37]
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ไทย ทิพยันต์ จันทร์แก้ว 12 มีนาคม 2565 อันดับที่ 13 ไทย ฟาซัล อุสมา มีนาคม 2565

ตารางคะแนน

[แก้]

อันดับ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การเลื่อนชั้นหรือการตกชั้น
1 ลำพูน วอร์ริเออร์ (C, P) 34 22 8 4 66 30 +36 74 เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก ฤดูกาล 2565–66
2 สุโขทัย (P) 34 22 7 5 78 44 +34 73
3 ตราด 34 20 8 6 55 33 +22 68 ผ่านเข้าสู่รอบเพลย์ออฟ
4 ลำปาง (O, P) 34 15 12 7 67 38 +29 57[a]
5 ชัยนาท ฮอร์นบิล 34 15 12 7 58 46 +12 57[a]
6 แพร่ ยูไนเต็ด 34 14 12 8 51 35 +16 54
7 เมืองกาญจน์ ยูไนเต็ด (R) 34 14 10 10 70 62 +8 52 ถูกปรับตกชั้นสู่ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2566 เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์คลับไลเซนซิง
8 อุดรธานี 34 13 8 13 53 58 −5 47
9 ระยอง 34 13 7 14 45 41 +4 46
10 นครปฐม ยูไนเต็ด 34 10 12 12 42 47 −5 42
11 อยุธยา ยูไนเต็ด 34 10 11 13 40 50 −10 41[b]
12 แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 34 10 11 13 35 45 −10 41[b]
13 เกษตรศาสตร์ 34 9 12 13 32 47 −15 39
14 เชียงใหม่ 34 10 8 16 39 55 −16 38
15 คัสตอม ลาดกระบัง ยูไนเต็ด 34 9 8 17 44 63 −19 35
16 ราชประชา 34 7 12 15 34 44 −10 33
17 ขอนแก่น (R) 34 5 9 20 32 60 −28 24 ตกชั้นสู่ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2565–66
18 ราชนาวี (R) 34 2 5 27 28 71 −43 11
แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล: 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. จำนวนประตูได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสียของมินิลีก 4. จำนวนประตูได้ของมินิลีก 5. ผลต่างประตูได้-เสียทั้งหมด 6. จำนวนประตูได้ทั้งหมด 7. คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8. เพลย์ออฟ[38]
(C) ชนะเลิศ; (O) ชนะเพลย์-ออฟ; (P) เลื่อนชั้น; (R) ตกชั้น.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 ลำปางและชัยนาท ฮอร์นบิลมีผลเฮด-ทู-เฮดเสมอกัน: ลำปาง 0–0 ชัยนาท ฮอร์นบิล, ชัยนาท ฮอร์นบิล 1–1 ลำปาง แต่ลำปางมีผลต่างประตูได้-เสียดีกว่า
  2. 2.0 2.1 อยุธยา ยูไนเต็ด มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด: อยุธยา ยูไนเต็ด 1–0 แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด, แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 1–1 อยุธยา ยูไนเต็ด


อันดับตามสัปดาห์

[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ทีม / สัปดาห์12345678910111213141516171819202122232425262728293031323334
เกษตรศาสตร์1481012101212121412121111121113121112131314131414141312111011121213
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด71312978111011119888888911101110111213131113101313131312
ขอนแก่น15171717171515131215161617151615161717171717171717171717171717171717
คัสตอม ลาดกระบัง ยูไนเต็ด3578856889101010111014141414141515151515161516151515151515
ชัยนาท ฮอร์นบิล111416111265977777665656665555554455445
เชียงใหม่53356977910111313131312111089911101112121414141414141414
ตราด4212111111111111111111111111333333
นครปฐม ยูไนเต็ด1615141011101314131414151614151615151515141314131110101012119101010
แพร่ ยูไนเต็ด2421222223345777779888888887777676
เมืองกาญจน์ ยูไนเต็ด10129131316161717171714141614111087777777666666767
ระยอง13711141513101110889910129131310111099999999910999
ราชนาวี17181818181818181818181818181818181818181818181818181818181818181818
ราชประชา12161515141414161516151715171717171616161616161616151615161616161616
ลำปาง91164579664454446565454444445544554
ลำพูน วอร์ริเออร์66479118556666554443333332332111111
สุโขทัย1153333332222232222222223223222222
อยุธยา ยูไนเต็ด1891215161717151613131212991091213121212121010111211131212111111
อุดรธานี81086444445533323334546666778888888
ชนะเลิศและเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก ฤดูกาล 2565–66
รองชนะเลิศและเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก ฤดูกาล 2565–66
เข้ารอบเพลย์ออฟเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก ฤดูกาล 2565–66
ตกชั้นสู่ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2565–66
อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น

[แก้]
ทีม / สัปดาห์12345678910111213141516171819202122232425262728293031323334
เกษตรศาสตร์LWDLWLDLLWDDWLDDWDLLDLWDWLWWDDLLDL
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ดDLDWWLDDLDWWLDWDLDLWLWLDLLWDWLLLDW
ขอนแก่นLLLDLWLWDLLDLWLDLLLLDLDLDLDWWLLLDL
คัสตอม ลาดกระบัง ยูไนเต็ดWDDLWWLLDLLWDLDLLLWDDLLLLLWLWDWLLW
ชัยนาท ฮอร์นบิลDLLWDWWLWWLLWWDWDWDLDWDDWDWWWDDWDL
เชียงใหม่WWDDLLWDLLLLWWLLWDWWDLLDLDLLLLWWDL
ตราดWWWDWWWWWWWDWWDDWWDWDLWDLWLLLWLWWD
นครปฐม ยูไนเต็ดLDDWDDLLDLDLLWLLWDLWWDDWWWLWLDWLDD
แพร่ ยูไนเต็ดWDWWWDWWLDLDLDDLLLDWDDWDWWLWLDWWDW
เมืองกาญจน์ ยูไนเต็ดDLWLLLLDDDWDLWDWWWWWDWLWDWWLWDDLWL
ระยองLWLLWWLDWWLLLLWDLLWLWWDDWWDLDLLWDW
ราชนาวีLLLLDLDLLLWLDLLLLLDLLLLLLLLDLWLLLL
ราชประชาDLDDDDDLDLDLWLLDLDWLWDLLLWLWLLDWLW
ลำปางDDWWLDWWWDDWDDDLWDDWLWWWDWLLWWDLLW
ลำพูน วอร์ริเออร์WDWLLLWWWDDDDWDWWWWDWWWDWLWWWWWWWW
สุโขทัยWWLWDWDDWWDWLWWDWWDDWWWLLWWLWWWWWW
อยุธยา ยูไนเต็ดLWLLLDLWLWLWDWDDWLLDDDWWDLDWLDLWDL
อุดรธานีDDWWDWLWWLWDWWWLWLLLDLLWWLDLLDWLDL
อ้างอิง: ไทยลีก
W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า / เยือน KAS GRN KHO CLU CNH CMI TRA NPU PRU MKU RAY NVY RAJ LAM LPW SKT AYU UDN
เกษตรศาสตร์ 1–0 2–1 1–1 0–4 0–0 2–0 1–0 0–1 2–2 1–1 1–0 3–2 1–2 0–3 1–4 0–2 2–2
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 0–0 2–1 3–3 0–1 1–1 1–0 0–1 1–0 1–2 1–0 2–0 1–1 2–2 3–2 1–1 1–1 3–3
ขอนแก่น 0–0 1–0 0–2 1–1 1–1 1–1 1–0 1–1 2–2 0–0 3–1 1–0 1–3 0–1 1–2 0–0 1–3
คัสตอม ลาดกระบัง ยูไนเต็ด 2–1 2–0 1–0 1–3 0–0 1–2 0–1 1–3 5–2 1–2 2–1 3–1 1–2 1–1 1–4 1–0 3–9
ชัยนาท ฮอร์นบิล 3–2 3–1 2–1 2–2 2–2 2–0 3–0 2–0 0–2 2–2 2–0 0–0 1–1 3–3 2–2 3–2 1–2
เชียงใหม่ 2–0 0–0 2–1 1–2 1–3 0–1 1–0 1–0 1–3 2–1 2–1 0–0 0–6 1–4 1–2 2–0 1–1
ตราด 1–0 1–0 2–3 2–1 1–0 3–1 2–0 1–1 4–1 1–1 2–0 1–0 4–2 0–1 4–3 4–0 2–1
นครปฐม ยูไนเต็ด 1–0 1–2 1–0 4–4 0–1 1–2 1–1 2–1 4–4 1–4 3–2 1–1 1–1 0–0 1–0 0–0 2–2
แพร่ ยูไนเต็ด 0–0 1–2 2–1 2–1 2–2 3–0 2–0 1–1 2–2 2–0 4–0 1–1 1–1 3–2 1–2 2–1 2–1
เมืองกาญจน์ ยูไนเต็ด 1–2 2–2 3–3 1–0 0–1 2–1 2–2 1–2 2–1 3–1 3–2 2–2 1–3 0–1 3–1 2–1 6–1
ระยอง 1–2 0–1 3–1 2–0 1–1 3–2 0–1 0–0 3–2 3–2 1–0 1–0 3–1 0–1 1–2 0–1 3–0
ราชนาวี 0–0 1–1 3–0 3–0 1–3 1–3 0–3 2–3 1–3 1–2 0–1 1–1 0–3 1–1 1–2 3–4 0–1
ราชประชา 1–1 1–0 2–0 3–0 4–1 0–3 1–1 2–1 0–0 1–4 3–3 1–0 0–2 0–1 0–1 3–0 0–1
ลำปาง 5–1 2–0 7–1 2–0 0–0 1–0 1–2 1–1 0–1 1–1 2–1 2–2 1–1 0–1 1–1 3–0 2–0
ลำพูน วอร์ริเออร์ 1–0 4–1 2–1 2–0 3–0 3–2 1–2 3–1 1–1 3–1 2–0 4–0 2–0 1–1 1–1 2–1 2–0
สุโขทัย 2–2 5–1 3–2 1–0 3–0 4–1 2–2 2–1 0–3 2–2 2–1 3–0 4–2 2–1 2–1 5–0 5–0
อยุธยา ยูไนเต็ด 1–1 1–0 1–0 1–1 5–3 2–1 0–0 2–2 2–2 1–3 1–0 4–0 2–0 1–1 1–1 1–2 1–1
อุดรธานี 1–2 0–1 4–1 1–1 1–1 3–1 1–2 0–4 0–0 3–1 0–2 1–0 1–0 3–2 1–3 4–1 1–0
ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

รอบเพลย์ออฟ

[แก้]
  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                         
5  ชัยนาท ฮอร์นบิล 1 0 1  
4  ลำปาง 2 2 4  
     ลำปาง () 2 3 5
   ตราด 2 3 5
6  แพร่ ยูไนเต็ด 1 0 1
3  ตราด 1 1 2  

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]
ชัยนาท ฮอร์นบิล1–2ลำปาง
ภรัณยู อุปละ ประตู 73' รายงาน ชาวิน ธีรวัจน์ศรี ประตู 19'45+2'
ผู้ชม: 1,613 คน
ผู้ตัดสิน: ต่อพงษ์ สมสิงห์
ลำปาง2–0ชัยนาท ฮอร์นบิล
กฤษณ เกษมกุลวิไล ประตู 3'
วีระยุทธ ศรีวิชัย ประตู 49'
รายงาน
สนามกีฬากลางจังหวัดลำปาง
ผู้ชม: 1,215 คน
ผู้ตัดสิน: วรินทร สัสดี

รวมผลสองนัด ลำปาง ชนะ 4–1


แพร่ ยูไนเต็ด1–1ตราด
อาสาฬห์ เพ็งบ้านไร่ ประตู 12' รายงาน วัลดูมิรู ซูวาริส ประตู 68'
ห้วยม้าสเตเดียม
ผู้ชม: 1,097 คน
ผู้ตัดสิน: ศิวกร ภูอุดม
ตราด1–0แพร่ ยูไนเต็ด
พรปรีชา จารุนัย ประตู 48' รายงาน
ผู้ชม: 1,595 คน
ผู้ตัดสิน: วิวรรธน์ จำปาอ่อน

รวมผลสองนัด ตราด ชนะ 2–1

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]
ลำปาง2–2ตราด
ชาวิน ธีรวัจน์ศรี ประตู 54'
อมรเทพ นิลน้อย ประตู 80' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน เรืองยศ จันชัยชิต ประตู 20'
เปาลู คอนราดู ประตู 51'
สนามกีฬากลางจังหวัดลำปาง
ผู้ชม: 1,114 คน
ผู้ตัดสิน: มงคลชัย เพชรศรี
ตราด3–3ลำปาง
วัลดูมิรู ซูวาริส ประตู 2'
เปาลู คอนราดู ประตู 32'
อิสริยะ มารมณ์ ประตู 45'
รายงาน ลูกัส มาสซารู ประตู 15' (ลูกโทษ)
อันเดรย์ โกชิญญู ประตู 48'
วีระยุทธ ศรีวิชัย ประตู 87'
ผู้ชม: 1,715 คน
ผู้ตัดสิน: สงกรานต์ บุญมีเกียรติ

รวมผลสองนัด เสมอ 5–5 ลำปาง ชนะด้วยกฏประตูทีมเยือน

สถิติ

[แก้]